ผู้นำพม่าจะพิจารณาให้จนท.ต่างชาติเข้าช่วยเหยือนาร์กีส
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 15:54 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
พลเอกเต็ง เส่ง ผู้นำรัฐบาลทหารของพม่ากล่าวระหว่างพิธีเปิดการประชุมผู้บริจาคที่กรุงย่างกุ้งในวันนี้ว่า รัฐบาลทหารพม่าจะอนุญาตให้เจ้าหน้าที่หน่วยให้ความช่วยเหลือต่างชาติที่ปรารถนาที่จะฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยเข้าไปยังพื้นที่ประสบภัยอย่างรุนแรงจากไซโคลนนาร์กีส...
-->
ไทยพร้อมให้ความร่วมมือลำเลียงสิ่งของบรรเทาทุกข์เข้าพม่า
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 13:11 น. — Manager Online - Breaking News
นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ "สนทนาประสาสมัคร" ถึงการพบปะกับนายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ ในโอกาสเดินทางไปพม่าเพื่อให้ความช่วยเหลือ และลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัยให้กับผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส ว่า ไทยพร้อมให้ความสะดวก และเป็น
เวินทุ่มบริจาค10ล้าน ย้ำจีนเข้าร่วมประชุมฯช่วยพม่า
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:50 น. — Manager Online - มุมจีน
เอเอฟพี - หยาง เจียชื่อรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศจีนแถลงรัฐบาลจีนยืนยันจะเข้าร่วมการประชุมช่วยเหลือพม่าในวันอาทิตย์(25พ.ค.)นี้ เพื่อร่วมระดมความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าโดยหยางเผยว่า แม้ขณะนี้จีนเองยังต้องเผชิญหน้ากับการให้ความช่
ชาวกมลาภูเก็ตเหยื่อสึนามิร่วมบริจาคช่วยเหยื่อนาร์กีสพม่า-แผ่นดินไหวที่จีน
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:23 น. — Manager Online - ภูมิภาค
ศูนย์ข่าวภูเก็ต - ประชาชนในตำบลกมลา จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเคยได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ร่วมบริจาคสิ่งของสมทบมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ส่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยในประเทศพม่าและจีน
เลขาฯUNเยือนพม่าอีกรอบเพื่อประชุมช่วยเหลือผู้ประสบภัย
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:53 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ เดินทางออกจากประเทศไทยช่วงเช้าวันนี้ มุ่งหน้าสู่นครย่างกุ้งของพม่า เพื่อร่วมเป็นประธานในการประชุมระหว่างกลุ่มประเทศผู้บริจาค และให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อพายุไซโคลนนาร์กีส การประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อรัฐบาลทหารพม่ายอมเปิดประตูรับความช่วยเหลือจากนานาประเทศ...
ญี่ปุ่นเตรียมส่งทีมช่วยเหลือผู้ประสบภัยเข้าพม่าวันนี้
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:43 น. — Manager Online - Breaking News
กระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น แถลงว่า จะส่งคณะตรวจสอบหาความจริงต่อความเสียหายที่เกิดจากพายุไซโคลนนาร์กีสเข้าไปในพม่าในวันนี้และพรุ่งนี้ เพื่อนำไปสู่การส่งคณะแพทย์เข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย เจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นจำนวน 4 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่กระทรวงต่างประเท
เลขาฯ ยูเอ็น เยือนพม่าอีกรอบ ร่วมประชุมช่วยเหลือผู้ประสบภัย
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:27 น. — Manager Online - Breaking News
นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ เดินทางออกจากประเทศไทยช่วงเช้าวันนี้ มุ่งหน้าสู่นครย่างกุ้งของพม่า เพื่อร่วมเป็นประธานในการประชุมระหว่างกลุ่มประเทศผู้บริจาค และให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อพายุไซโคลนนาร์กีส การประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อรัฐบาลทหารพม่า
อาเซียน-ยูเอ็น ถกช่วยเหยื่อนาร์กีส
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 07:39 น. — Posttoday.com : Breaking News
อาเซียน-ยูเอ็นจัดการประชุม ระดมความคิดช่วยเหยื่อนาร์กีสในพม่า
3 อาทิตย์เพิ่งคิดได้ ตานฉ่วยยอมให้กู้ภัยต่างชาติเข้าพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 22:33 น. — Prachatai.com เว็บหนังสือพิมพ์ออนไลน์
เลขายูเอ็นกล่อมถึงเนปยิดอว์ ตานฉ่วยยอมให้เจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ชาวต่างชาติทุกคนไม่ว่าสัญชาติใด เข้ามาให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยนาร์กีส หลังพายุพัดผ่านมาได้ 3 สัปดาห์ ด้านรัฐสภายุโรปมีมติให้นำตัวตานฉ่วยขึ้นศาลโลก ฐานไม่ยอมรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศจนมีผู้เสียชีวิตหลังไซโคลนจำนวนมาก
ชาวภูเก็ตมอบของหนัก8ตันช่วยเหลือเหยื่อนาร์กิสที่พม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 21:34 น. — Manager Online - ภูมิภาค
ระนอง-ประชาชนชาวจังหวัดภูเก็ต ร่วมบริจาคสิ่งของบริจาคช่วยเหลือชาวพม่า ที่ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส หนักร่วม 8 ตัน มูลค่ากว่า 3 แสนบาท ผ่านทางจังหวัดระนอง คาดต้องใช้เวลานาน 3 วัน ถึงถึงมือผู้ประสบภัย
นายกฯเตรียมปล่อยเที่ยวบินช่วยพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 14:39 น. — INN : ข่าวการเมือง
บรรยากาศ ณ บริเวณคลังสินค้า 3 ท่าอากาศยานดอนเมืองในขณะนี้มีสื่อมวลชนขนานต่างๆ ทยอยเดินทางมายังบริเวณดังกล่าวเพื่อร่วมทำข่าวงานพิธีเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์ของสหประชาชาติสำหรับลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัยเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าอย่างต่อเนื่อง...
ทภ.3 ลำเลียงสิ่งของช่วยเหยื่อนาร์กีสต่อเนื่อง - เผยพม่าซาบซึ้งน้ำพระทัยในหลวง
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 14:17 น. — Manager Online - ภูมิภาค
แม่ทัพภาค 3 ลุยข้ามฝั่งพม่า นำเครื่องอุปโภคบริโภคกว่า 71 ตัน แจกจ่ายผู้ประสพภัยนาร์กีส "พลจัตวาอ่องไน"ผู้บัญชาการควบคุมที่ 15 เผยชาวพม่าซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระบรมราชินีนาถ และบรมวงศานุวงศ์
เลขาธิการยูเอ็นเสนอจะช่วยเหยื่อแผ่นดินไหวจีน
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:17 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
โดยการเยือนจีนครั้งนี้ นายบัน คีมูน ยังได้พบปะนายกรัฐมนตรีเวิน เจียเป่า ในเมืองอิงซิ่ว มณฑลเสฉวน ซึ่งเป็นศูนย์กลางแผ่นดินไหวครั้งนี้ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตหรือสูญหายกว่า 80,000 คน และยังมีกำหนดจะเดินทางไปเยี่ยมเหยื่อผู้ประสบภัยในเมือง เหวินฉวน ด้วย นายบัน คีมูน เดินทางเยือนจีนต่อทันที...
เลขายูเอ็นเดินทางถึงจีนแล้ว
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:36 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า นายบันเดินทางถึงเมืองเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวน ที่ได้รับความเสียหายหนักจากแผ่นดินไหว หลังจากเดินทางไปเยือนพม่า ซึ่งเขาสามารถโน้มน้าวให้รัฐบาลทหารพม่ายอมอนุญาตให้เจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ต่างชาติเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส...
ชาวพม่าในพื้นที่ประสบภัยออกไปลงประชามติรธน.ฉ.ใหม่แล้ว
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:03 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
รัฐบาลเริ่มเปิดให้ประชาชนลงประชามติตั้งแต่เวลา 06.00 น.ตามเวลาท้องถิ่น หรือตรงกับเวลา 06.30 น.ตามเวลาในไทยในเขตนครย่างกุ้งและบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดี ซึ่งได้รับความเสียหนักจากพายุไซโคลนนาร์กีสเมื่อสามสัปดาห์ที่ผ่านมา รัฐบาลทหารพม่าระบุว่า...
IUCNเตือนพม่าเร่งฟื้นป่าโกงกาง-แนวกันภัยธรรมชาติ หลังถูกนาร์กีสถล่ม
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:47 น. — Manager Online - Breaking News
สหภาพพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ หรือ ไอยูซีเอ็น (IUCN) เตือนว่า ป่าโกงกางและแนวกันภัยธรรมชาติจะต้องได้รับการปลูกขึ้นใหม่อย่างเร่งด่วนในพม่า เพื่อป้องกันน้ำท่วมและภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต ไอยูซีเอ็น ระบุว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นบริเ
ชาวพม่าในเขตภัยพิบัติเริ่มลงประชามติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:24 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
รัฐบาลเริ่มเปิดให้ประชาชนลงประชามติตั้งแต่เวลา 06.00 น.ตามเวลาท้องถิ่น หรือตรงกับเวลา 06.30 น.ตามเวลาในไทยในเขตนครย่างกุ้งและบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดี ซึ่งได้รับความเสียหนักจากพายุไซโคลนนาร์กีสเมื่อสามสัปดาห์ที่ผ่านมา รัฐบาลทหารพม่าระบุว่า...
45 องค์กรนานาชาติเตรียมประชุมระดมความช่วยเหลือพม่าพรุ่งนี้
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:17 น. — Manager Online - Breaking News
สหประชาชาติเปิดเผยว่า มีองค์กรระดับภูมิภาคและประเทศต่าง ๆ กว่า 45 ราย ได้ตกลงที่จะเข้าร่วมการประชุมในพม่าวันอาทิตย์นี้ เพื่อระดมความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่า การประชุมกำหนดจัดขึ้นที่นครย่างกุ้ง โดยมีสหประชาชาติและสมา
นายริสลีย์โฆษกUNกังวลคำสัญญาเรื่องการช่วยเหลือชาวพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 06:02 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
นายพอล ริสลีย์ โฆษกโครงการอาหารโลกของสหประชาชาติ เปิดเผยว่า ท่ามกลางหลายฝ่ายที่ยินดีกับถ้อยแถลงล่าสุดของรัฐบาลทหารพม่า ที่ระบุว่า จะยอมให้คณะผู้เชี่ยวชาญด้านการบรรเทาทุกข์ เดินทางเข้าช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรมจากพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าได้ ซึ่งเป็นท่าทีที่มีขึ้น หลังนายบัน คี-มูน เลขาธิการยูเอ็น...
เลขาฯUNเผยทั่วโลกกำลังจับตาดูพม่าหวังให้ยอมรับความช่วย
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 05:18 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
หลังจากเจรจากับพลเอกอาวุโส ตานฉ่วย ผู้นำสูงสุดของทางการพม่า นานกว่า 2 ชั่วโมง นายบัน คี-มูน เลขาธิการสหประชาชาติหรือยูเอ็น เปิดเผยว่า ทั่วโลกกำลังจับตาดูพม่าหลังจากมีการผลักดันให้รัฐบาลทหารพม่ายอมรับความช่วยเหลือจากนานาชาติ ในการช่วยผู้รอดชีวิตจากพายุไซโคลนนาร์กีส ซึ่งในการหารือครั้งนี้...
วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
Paper
Papyrus and parchment
Outside Egypt, parchment or vellum, made of processed sheepskin or calfskin, replaced papyrus as the papyrus plant requires subtropical conditions to grow.
In America, archaeological evidence indicates that a similar parchment writing material was invented by the Mayans no later than the 5th century AD.[1] Called amatl, it was in widespread use among Mesoamerican cultures until the Spanish conquest. The parchment is created by boiling and pounding the inner bark of trees, until the material becomes suitable for art and writing.
These materials are made from pounded reeds and bark and is technically not true paper, which is made from pulp, rags, and fibers of plants and cellulose.
Early papermaking in China
Papermaking is considered to be one of the Four Great Inventions of Ancient China, since the first papermaking process was developed in China during the early 2nd century. During the Shang (1600 BC-1050 BC) and Zhou (1050 BC-256 BC) dynasties of ancient China, documents were ordinarily written on bone or bamboo (on tablets or on bamboo strips sewn and rolled together into scrolls), making them very heavy and awkward to transport. The light material of silk was sometimes used, but was normally too expensive to consider. While the Han Dynasty Chinese court official Cai Lun is widely regarded to have invented the modern method of papermaking (inspired from wasps and bees) from wood pulp in AD 105, the discovery of specimens bearing written Chinese characters in 2006 at north-east China's Gansu province suggest that paper was in use by the ancient Chinese military more than 100 years before Cai in 8 BC. [2] Archeologically however, true paper without writing has been excavated in China dating to the reign of Emperor Wu of Han from the 2nd century BC, used for purposes of wrapping or padding protection for delicate bronze mirrors.[2] It was also used for safety, such as the padding of poisonous 'medicine' as mentioned in the official history of the period.[2] Although paper used for writing became widespread by the 3rd century,[3] paper continued to be used for wrapping (and other) purposes.
Toilet paper was used in China by at least the 6th century AD.[4] In AD 589, the Chinese scholar-official Yan Zhitui (531-591 AD) once wrote: "Paper on which there are quotations or commentaries from Five Classics or the names of sages, I dare not use for toilet purposes".[4] An Arab traveler to China once wrote of the curious Chinese tradition of toilet paper in AD 851, writing: "They (the Chinese) are not careful about cleanliness, and they do not wash themselves with water when they have done their necessities; but they only wipe themselves with paper".[4] Toilet paper continued to be a valued necessity in China, since it was during the Hongwu Emperor's reign in AD 1393 that the Bureau of Imperial Supplies (Bao Chao Si) manufactured 720,000 sheets of toilet paper for the entire court (produced of the cheap rice-straw paper).[4] For the emperor's family alone, 15,000 special sheets of paper were made, in light yellow tint and even perfumed.[4] Even at the beginning of the 14th century, during the middle of the Yuan Dynasty, the amount of toilet paper manufactured for modern-day Zhejiang province alone amounted to ten million packages holding 1000 to 10000 sheets of toilet paper each.[4]
During the Tang Dynasty (AD 618-907) paper was folded and sewn into square bags to preserve the flavor of tea.[2] During the same period, it was written that tea was served from baskets with multi-colored paper cups and paper napkins of different size and shape.[2] During the Chinese Song Dynasty (AD 960-1279) not only did the government produce the world's first known paper-printed money, or banknote (see Jiaozi and Huizi), but paper money bestowed as gifts to deserving government officials were wrapped in special paper envelopes.[4]
Paper spread slowly outside of China; other East Asian cultures, even after seeing paper, could not make it themselves. Instruction in the manufacturing process was required, and the Chinese were reluctant to share their secrets. The paper was thin and translucent, not like modern western paper, and thus only written on one side. The technology was first transferred to Korea in 604 and then imported to Japan by Buddhist priests, around 610, where fibres (called bast) from the mulberry tree were used
Papermaking arrives in the Middle East
After further commercial trading and the defeat of the Chinese in the Battle of Talas in 751, the invention spread to the Middle East.[5] Production was started in Baghdad, where the Arabs invented a method to make a thicker sheet of paper. The manufacture had spread to Damascus by the time of the First Crusade in 1096; but the wars interrupted production, and it split into two centres. Cairo continued with the thicker paper. Iran became the centre of the thinner papers. It was also adopted in India.
Some historians[who?] speculate that paper was a key element in cultural advancement. According to this theory, Chinese culture was less developed than the West in ancient times prior to the Han Dynasty because bamboo, while abundant, was a clumsier writing material than papyrus; Chinese culture advanced during the Han Dynasty and subsequent centuries due to the invention of paper; and Europe advanced during the Renaissance due to the introduction of paper and the printing press.
European papermaking
The first paper mill in Europe was in Spain, at Xátiva (modern Valencia) in 1120. More mills appeared in Fabriano Italy in about the 13th century, as an import from Islamic Spain. They used hemp and linen rags as a source of fibre. The oldest known paper document in the West is the Mozarab Missal of Silos from the 11th century, probably written in the Islamic part of Spain. Paper is recorded as being manufactured in both Italy and Germany by 1400, just about the time when the woodcut printmaking technique was transferred from fabric to paper in the old master print and popular prints. The first commercially successful paper mill in England was opened by John Spilman in 1588 near Dartford in Kent and was initially reliant on German papermaking expertise
Nineteenth Century advances in papermaking
Paper remained expensive, at least in book-sized quantities, through the centuries, until the advent of steam-driven paper making machines in the 19th century, which could make paper with fibres from wood pulp. Although older machines predated it, the Fourdrinier paper making machine became the basis for most modern papermaking. Nicholas Louis Robert of Essonnes, France, was granted a patent for a continuous paper making machine in 1799. At the time he was working for Leger Didot with whom he quarrelled over the ownership of the invention. Didot sent his brother-in-law, John Gamble, to meet Henry and Sealy Fourdrinier, stationers of London, who agreed to finance the project. Gamble was granted British patent 2487 on 20 October 1801. With the help particularly of Bryan Donkin, a skilled and ingenious mechanic, an improved version of the Robert original was installed at Frogmore, Hertfordshire, in 1803, followed by another in 1804. A third machine was installed at the Fourdriniers' own mill at Two Waters. The Fourdriniers also bought a mill at St Neots intending to install two machines there and the process and machines continued to develop.
Together with the invention of the practical fountain pen and the mass produced pencil of the same period, and in conjunction with the advent of the steam driven rotary printing press, wood based paper caused a major transformation of the 19th century economy and society in industrialized countries. With the introduction of cheaper paper, schoolbooks, fiction, non-fiction, and newspapers became gradually available by 1900. Cheap wood based paper also meant that keeping personal diaries or writing letters became possible and so, by 1850, the clerk, or writer, ceased to be a high-status job.
The original wood-based paper was acidic due to the use of alum and more prone to disintegrate over time, through processes known as slow fires. Documents written on more expensive rag paper were more stable. Mass-market paperback books still use these cheaper mechanical papers (see below), but book publishers can now use acid-free paper for hardback and trade paperback books.
Outside Egypt, parchment or vellum, made of processed sheepskin or calfskin, replaced papyrus as the papyrus plant requires subtropical conditions to grow.
In America, archaeological evidence indicates that a similar parchment writing material was invented by the Mayans no later than the 5th century AD.[1] Called amatl, it was in widespread use among Mesoamerican cultures until the Spanish conquest. The parchment is created by boiling and pounding the inner bark of trees, until the material becomes suitable for art and writing.
These materials are made from pounded reeds and bark and is technically not true paper, which is made from pulp, rags, and fibers of plants and cellulose.
Early papermaking in China
Papermaking is considered to be one of the Four Great Inventions of Ancient China, since the first papermaking process was developed in China during the early 2nd century. During the Shang (1600 BC-1050 BC) and Zhou (1050 BC-256 BC) dynasties of ancient China, documents were ordinarily written on bone or bamboo (on tablets or on bamboo strips sewn and rolled together into scrolls), making them very heavy and awkward to transport. The light material of silk was sometimes used, but was normally too expensive to consider. While the Han Dynasty Chinese court official Cai Lun is widely regarded to have invented the modern method of papermaking (inspired from wasps and bees) from wood pulp in AD 105, the discovery of specimens bearing written Chinese characters in 2006 at north-east China's Gansu province suggest that paper was in use by the ancient Chinese military more than 100 years before Cai in 8 BC. [2] Archeologically however, true paper without writing has been excavated in China dating to the reign of Emperor Wu of Han from the 2nd century BC, used for purposes of wrapping or padding protection for delicate bronze mirrors.[2] It was also used for safety, such as the padding of poisonous 'medicine' as mentioned in the official history of the period.[2] Although paper used for writing became widespread by the 3rd century,[3] paper continued to be used for wrapping (and other) purposes.
Toilet paper was used in China by at least the 6th century AD.[4] In AD 589, the Chinese scholar-official Yan Zhitui (531-591 AD) once wrote: "Paper on which there are quotations or commentaries from Five Classics or the names of sages, I dare not use for toilet purposes".[4] An Arab traveler to China once wrote of the curious Chinese tradition of toilet paper in AD 851, writing: "They (the Chinese) are not careful about cleanliness, and they do not wash themselves with water when they have done their necessities; but they only wipe themselves with paper".[4] Toilet paper continued to be a valued necessity in China, since it was during the Hongwu Emperor's reign in AD 1393 that the Bureau of Imperial Supplies (Bao Chao Si) manufactured 720,000 sheets of toilet paper for the entire court (produced of the cheap rice-straw paper).[4] For the emperor's family alone, 15,000 special sheets of paper were made, in light yellow tint and even perfumed.[4] Even at the beginning of the 14th century, during the middle of the Yuan Dynasty, the amount of toilet paper manufactured for modern-day Zhejiang province alone amounted to ten million packages holding 1000 to 10000 sheets of toilet paper each.[4]
During the Tang Dynasty (AD 618-907) paper was folded and sewn into square bags to preserve the flavor of tea.[2] During the same period, it was written that tea was served from baskets with multi-colored paper cups and paper napkins of different size and shape.[2] During the Chinese Song Dynasty (AD 960-1279) not only did the government produce the world's first known paper-printed money, or banknote (see Jiaozi and Huizi), but paper money bestowed as gifts to deserving government officials were wrapped in special paper envelopes.[4]
Paper spread slowly outside of China; other East Asian cultures, even after seeing paper, could not make it themselves. Instruction in the manufacturing process was required, and the Chinese were reluctant to share their secrets. The paper was thin and translucent, not like modern western paper, and thus only written on one side. The technology was first transferred to Korea in 604 and then imported to Japan by Buddhist priests, around 610, where fibres (called bast) from the mulberry tree were used
Papermaking arrives in the Middle East
After further commercial trading and the defeat of the Chinese in the Battle of Talas in 751, the invention spread to the Middle East.[5] Production was started in Baghdad, where the Arabs invented a method to make a thicker sheet of paper. The manufacture had spread to Damascus by the time of the First Crusade in 1096; but the wars interrupted production, and it split into two centres. Cairo continued with the thicker paper. Iran became the centre of the thinner papers. It was also adopted in India.
Some historians[who?] speculate that paper was a key element in cultural advancement. According to this theory, Chinese culture was less developed than the West in ancient times prior to the Han Dynasty because bamboo, while abundant, was a clumsier writing material than papyrus; Chinese culture advanced during the Han Dynasty and subsequent centuries due to the invention of paper; and Europe advanced during the Renaissance due to the introduction of paper and the printing press.
European papermaking
The first paper mill in Europe was in Spain, at Xátiva (modern Valencia) in 1120. More mills appeared in Fabriano Italy in about the 13th century, as an import from Islamic Spain. They used hemp and linen rags as a source of fibre. The oldest known paper document in the West is the Mozarab Missal of Silos from the 11th century, probably written in the Islamic part of Spain. Paper is recorded as being manufactured in both Italy and Germany by 1400, just about the time when the woodcut printmaking technique was transferred from fabric to paper in the old master print and popular prints. The first commercially successful paper mill in England was opened by John Spilman in 1588 near Dartford in Kent and was initially reliant on German papermaking expertise
Nineteenth Century advances in papermaking
Paper remained expensive, at least in book-sized quantities, through the centuries, until the advent of steam-driven paper making machines in the 19th century, which could make paper with fibres from wood pulp. Although older machines predated it, the Fourdrinier paper making machine became the basis for most modern papermaking. Nicholas Louis Robert of Essonnes, France, was granted a patent for a continuous paper making machine in 1799. At the time he was working for Leger Didot with whom he quarrelled over the ownership of the invention. Didot sent his brother-in-law, John Gamble, to meet Henry and Sealy Fourdrinier, stationers of London, who agreed to finance the project. Gamble was granted British patent 2487 on 20 October 1801. With the help particularly of Bryan Donkin, a skilled and ingenious mechanic, an improved version of the Robert original was installed at Frogmore, Hertfordshire, in 1803, followed by another in 1804. A third machine was installed at the Fourdriniers' own mill at Two Waters. The Fourdriniers also bought a mill at St Neots intending to install two machines there and the process and machines continued to develop.
Together with the invention of the practical fountain pen and the mass produced pencil of the same period, and in conjunction with the advent of the steam driven rotary printing press, wood based paper caused a major transformation of the 19th century economy and society in industrialized countries. With the introduction of cheaper paper, schoolbooks, fiction, non-fiction, and newspapers became gradually available by 1900. Cheap wood based paper also meant that keeping personal diaries or writing letters became possible and so, by 1850, the clerk, or writer, ceased to be a high-status job.
The original wood-based paper was acidic due to the use of alum and more prone to disintegrate over time, through processes known as slow fires. Documents written on more expensive rag paper were more stable. Mass-market paperback books still use these cheaper mechanical papers (see below), but book publishers can now use acid-free paper for hardback and trade paperback books.
วันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
พายุ
ประเภทของพายุ
พายุแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ
พายุฝนฟ้าคะนอง มีลักษณะเป็นลมพัดย้อนไปมา หรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิดจากพายุที่อ่อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจากหย่อมความกดอากาศต่ำ ร่องความกดอากาศต่ำ อาจไม่มีทิศทางที่แน่นอน หากสภาพการณ์แวดล้อมต่าง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม ก็จะเกิดฝนตก มีลมพัด
พายุหมุนเขตร้อนต่าง ๆ เช่น เฮอร์ริเคน ไต้ฝุ่น และไซโคลน ซึ่งล้วนเป็นพายุหมุนขนาดใหญ่เช่นเดียวกัน และจะเกิดขึ้นหรือเริ่มต้นก่อตัวในทะเล หากเกิดเหนือเส้นศูนย์สูตร จะมีทิศทางการหมุนทวนเข็มนาฬิกา และหากเกิดใต้เส้นศูนย์สูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยมีชื่อต่างกันตามสถานที่เกิด กล่าวคือ
พายุเฮอร์ริเคน (hurricane) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เป็นต้น รวมทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณชายฝั่งประเทศเม็กซิโก
พายุไต้ฝุ่น (typhoon) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เช่น บริเวณทะเลจีนใต้ อ่าวไทย อ่าวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุ่น
พายุไซโคลน (cyclone) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดีย เหนือ เช่น บริเวณอ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ เป็นต้น แต่ถ้าพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอร์และทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย จะเรียกว่า พายุวิลลี-วิลลี (willy-willy)
พายุโซนร้อน (tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตร้อนขนาดใหญ่อ่อนกำลังลง ขณะเคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนย์กลางลดลงเมื่อเคลื่อนเข้าหาฝั่ง
พายุดีเปรสชัน (depression) เกิดขึ้นเมื่อความเร็วลดลงจากพายุโซนร้อน ซึ่งก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก
พายุทอร์นาโด (tornado) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็กหรือเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หรือความเร็วที่จุดศูนย์กลางสูงมากกว่าพายุหมุนอื่น ๆ ก่อความเสียหายได้รุนแรงในบริเวณที่พัดผ่าน เกิดได้ทั้งบนบก และในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกว่า นาคเล่นน้ำ (water spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุ่มเมฆบนท้องฟ้า แต่หมุนตัวยื่นลงมาจากท้องฟ้าไม่ถึงพื้นดิน มีรูปร่างเหมือนงวงช้าง จึงเรียกกันว่า ลมงวง
พายุแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ
พายุฝนฟ้าคะนอง มีลักษณะเป็นลมพัดย้อนไปมา หรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิดจากพายุที่อ่อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจากหย่อมความกดอากาศต่ำ ร่องความกดอากาศต่ำ อาจไม่มีทิศทางที่แน่นอน หากสภาพการณ์แวดล้อมต่าง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม ก็จะเกิดฝนตก มีลมพัด
พายุหมุนเขตร้อนต่าง ๆ เช่น เฮอร์ริเคน ไต้ฝุ่น และไซโคลน ซึ่งล้วนเป็นพายุหมุนขนาดใหญ่เช่นเดียวกัน และจะเกิดขึ้นหรือเริ่มต้นก่อตัวในทะเล หากเกิดเหนือเส้นศูนย์สูตร จะมีทิศทางการหมุนทวนเข็มนาฬิกา และหากเกิดใต้เส้นศูนย์สูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยมีชื่อต่างกันตามสถานที่เกิด กล่าวคือ
พายุเฮอร์ริเคน (hurricane) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เป็นต้น รวมทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณชายฝั่งประเทศเม็กซิโก
พายุไต้ฝุ่น (typhoon) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เช่น บริเวณทะเลจีนใต้ อ่าวไทย อ่าวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุ่น
พายุไซโคลน (cyclone) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดีย เหนือ เช่น บริเวณอ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ เป็นต้น แต่ถ้าพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอร์และทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย จะเรียกว่า พายุวิลลี-วิลลี (willy-willy)
พายุโซนร้อน (tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตร้อนขนาดใหญ่อ่อนกำลังลง ขณะเคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนย์กลางลดลงเมื่อเคลื่อนเข้าหาฝั่ง
พายุดีเปรสชัน (depression) เกิดขึ้นเมื่อความเร็วลดลงจากพายุโซนร้อน ซึ่งก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก
พายุทอร์นาโด (tornado) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็กหรือเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หรือความเร็วที่จุดศูนย์กลางสูงมากกว่าพายุหมุนอื่น ๆ ก่อความเสียหายได้รุนแรงในบริเวณที่พัดผ่าน เกิดได้ทั้งบนบก และในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกว่า นาคเล่นน้ำ (water spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุ่มเมฆบนท้องฟ้า แต่หมุนตัวยื่นลงมาจากท้องฟ้าไม่ถึงพื้นดิน มีรูปร่างเหมือนงวงช้าง จึงเรียกกันว่า ลมงวง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)