วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์


พระประวัติ
พระองค์ทรงสมภพเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2417 เป็นพระราชโอรสองค์ที่14 ในพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5) กับ เจ้าจอมมารดาตลับ


การศึกษาและหน้าที่การงาน
เมื่อทรงพระเยาว์ ทรงเข้ารับการศึกษาวิชาภาษาไทยครั้งแรกที่สำนักพระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อยอาจารยางกูร) จากนั้นทรงศึกษาภาษาอังกฤษขึ้นต้นในสำนักครูรามสามิแล้วไปศึกษาภาษาไทยต่อที่สำนักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่นเปรียญ) และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบโดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นอาจารย์ผู้สอน ต่อมาในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๔๒๗ เมื่อเจริญพระชันษาได้ ๑๐ ชันษา ทรงเข้าพิธีโสกันต์ พร้อมด้วยพระเจ้าลูกยาเธออีก ๓ พระองค์ คือ พระองค์เจ้ากิตติยากรวรลักษณ์กรมพระจันทบุรีนฤนาท พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดมกรมหลวงปราจิณกิติบดีและพระองค์เจ้าจิระประวัติวรเดชกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ในปีถัดมาทรงผนวชเป็นสามเณรที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามโดยในระหว่างที่ทรงผนวชแม้จะเป็นระยะเวลาสั้น ๆ เพียง ๒๒ วัน แต่ได้ทรงแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถที่เหนือกว่าบุคคลทั่วไปเมื่อทรงจำพระวินัยสงฆ์ได้อย่างแม่นยำชนิดพระสงฆ์ที่บวชเรียนมาแล้วหลายพรรษา ก็ยังไม่สามารถท่องจำวินัยสงฆ์ได้แม่นยำเช่นพระองค์ท่าน หลังจากที่ทรงลาผนวชแล้ว เสด็จไปศึกษาต่อ ณ โรงเรียนมัธยมกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นเวลา ๓ ปีเมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมแล้วทรงสอบเรียนต่อกฎหมายที่มหาวิทยาลัยออกฟอร์ดได้ด้วยพระชนมายุเพียงแค่ ๑๔ ชันษา แต่ทางมหาวิทยาลัยไม่ยอมให้ทรงเข้าศึกษาต่อ เนื่องจากติดข้อบังคับที่ว่าอายุไม่ถึง ๑๘ ปีแต่ก็มิได้ย่อท้อ เสด็จไปขอร้องเป็นกรณีพิเศษต่อทางมหาวิทยาลัยว่า "คนไทยเกิดง่ายตายเร็ว" จนทางมหาวิทยาลัยยินยอมให้สอบอีกครั้ง ซึ่งก็ทรงสอบได้และได้ศึกษาต่อจนจบหลักสูตรปริญญาตรีด้านกฎหมายชั้นเกียรตินิยม โดยใช้เวลาศึกษาเพียงแค่ ๓ ปี จากปกติที่ต้องใช้เวลาเรียนถึง ๔ ปี นับเป็นบัณฑิตที่มีอายุน้อยที่สุดด้วยพระชนม์แค่ ๑๗ ชันษาจากนั้นเมื่อเสด็จกลับมาเมืองไทยทรงเข้ารับราชการที่กรมราชเลขานุการ ได้ใช้พระปรีชาสามารถ พระสติปัญญาและพระวิริยะอุตสาหะในการทำงานเป็นอย่างมาก ในไม่ช้าก็ทรงสามารถทำงานได้ทุกตำแหน่งในกรม จนเป็นที่ยกย่องของข้าราชการในกรมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเป็นเลิศในการร่างพระราชหัตถเลขาได้เป็นที่พอพระราชหฤทัยของพระพุทธเจ้าหลวงยิ่งนัก ถึงขนาดที่ทรงเรียกพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ว่า "เฉลียวฉลาดรพี" พร้อมกับทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นองคมนตรี ในขณะเดียวกันทรงมีตำแหน่งเป็นสภานายกพิเศษจัดตั้งศาลมณฑลและศาลเมือง (ศาลจังหวัด) ขึ้นในท้องที่ต่าง ๆ โดยทรงจัดตั้งศาลหัวเมืองในมณฑลอยุธยาขึ้นเป็นแห่งแรกแม้ในช่วงนั้นจะมีคดีความในศาลคั่งค้างอยู่มาก แต่ก็ทรงตัดชำระความด้วยพระองค์เองจนเสร็จสิ้นภายในเวลาอันรวดเร็วได้อย่างถูกต้องและเที่ยงธรรม จนเป็นที่เลื่อมใสของประชาชนทุกคน


รับตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
จากนั้นพระองค์ก็ได้รับตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ในขณะที่มีพระชนม์มายุเพียง 22 ชันษาเท่านั้น พระองค์ได้ทรงมุ่งมั่นในการปรับปรุงแก้ไขระเบียบศาล และงานยุติธรรมของประเทศไทยให้มีความเจริญก้าวหน้าเท่าทันต่างประเทศ นับว่าพระองค์ทรงเป็นเสนาบดีที่ทรงมีพระชนมายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย


จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมาย
ใน พ.ศ. 2440 พระองค์ได้ทรงจัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายในประเทศไทยขึ้นเป็นครั้งแรก โดยยืมสถานที่ของกระทรวงยุติธรรมเป็นสถานที่สอน ในการดำเนินการสอนของพระองค์ท่านได้ประสบปัญหาอย่างมาก เนื่องจากในขณะนั้นประเทศไทยยังไม่มีบุคคลากรที่เชี่ยวชาญด้านกฎหมายนัก พระองค์จึงทรงต้องคัดเลือกและสอนนักเรียนเองทุกวิชา แต่พระองค์ก็ไม่เคยย่อท้อแม้แต่น้อย จนกระทั่งปลาย พ.ศ. 2440 จึงเปิดให้สอบไล่ในระดับชั้นเนติบัณฑิตเป็นครั้งแรก เพื่อให้เนติบัณฑิตเหล่านี้ได้นำสิ่งที่เรียนมาไปแบ่งเบาภาระของพระองค์

กรมการร่างกฎหมาย
ปัญหาอีกอย่างหนึ่งสำหรับศาลไทยในเวลานั้น คือ เรื่องของศาลกงสุลต่างชาติ ที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในเมืองไทยเป็นที่รู้กันว่าชาวต่างพวกนี้มีอำนาจอิทธิพลมาก เวลาเกิดคดีความ ข้อโต้แย้งขึ้นมาก คนไทยมักตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ เพราะชาวต่างชาติมักอ้างว่ากฎหมายยังล้าหลังไม่ทันสมัยเพื่อเป็นข้ออ้างเอาเปรียบคนไทยซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่ศาลไทยยังไม่พร้อมที่จะรับข้อกฎหมายใหม่ ๆในเวลานั้น พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงแก้ปัญหาเรื่องนี้โดยการจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิพากษาเป็นเหตุให้ผู้พิพากษาศาลไทยเกิดความกระตือรือร้นเร่งศึกษาชากฎหมายไทยและต่างประเทศทำให้ศาลไทยมีความเชื่อถือมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติ ถึงกับยกเลิกศาลกงสุลยอมให้คนชาติตัวเองมาขึ้นศาลไทยในส่วนการแก้ไขตัวบทกฎหมายนั้น ได้ทรงกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเจ้าเกล้าเจ้าอยู่หัวให้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่ตรวจชำระพระราชกำหนดบทพระอัยการ ตลอดจนจัดระเบียบกฎหมายที่ใช้มาเป็นเวลานานจนล้าสมัย เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสศึกษาและเข้าใจตัวกฎหมายได้ง่ายขึ้น และเพื่อสะดวกต่อการพิจารณาคดีทั้งปวง คณะกรรมการชุดที่ว่านี้ประกอบไปด้วย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายทั้งฝ่ายไทยและต่างประเทศ โดยทรงเป็นองค์ประธานคณะกรรมการเองการยกเครื่องกฎหมายในครั้งนั้นกล่าวได้ว่า ทรงเป็นหัวเรือใหญ่ในการร่างกฎหมายอย่างแท้จริง จนประสบความสำเร็จเป็นประมวลกฎหมายไทยฉบับแรก ซึ่งต่อมาเมื่อมีการประกาศการใช้กฎหมายแล้ว ยังได้ทรงเขียนอธิบายตัวบทกฎหมายให้มีความเข้าใจได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นไปอีก เพื่อสะดวกต่อการศึกษา และให้เกิดการตีความตรงกับเจตนารมณ์ของผู้ร่างอันถือเป็นรากฐานสำคัญของการก่อตั้งวิชานิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในปัจจุบันต่อมาคณะกรรมการชุดดังกล่าวยังได้ตรากฎหมายขึ้นมาใช้อีกหลายฉบับจนกระทั่งได้ยกฐานะเป็นกรมร่างกฎหมายและพัฒนากลายมาเป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาในทุกวันนี้ นอกจากนี้ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นกรรมการในศาลกรรมการฎีกาหรือศาลฎีกาในปัจจุบัน มีหน้าที่คอยตรวจตัดสินความฎีกาซึ่งเป็นศาลสูงสุดของประเทศ "ชีวิตของฉันเกิดมาเพื่อรับใช้ประเทศชาติ" จะเห็นได้ว่า ตลอดเวลาที่อยู่ในตำแหน่งเสนาบดี ๑๔ ปีได้ทรงปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มพระกำลังสามารถและมีพระวิริยะอุตสาหะในการทำงานมาโดยตลอด โดยไม่ได้ย่อท้อต่ออุปสรรคและความเหน็ดเหนื่อย

สิ้นพระชนม์
ในวันที่ 7 ส.ค.2463 พระองค์ได้สิ้นพระชนม์ด้วยโรควัณโรคที่พระวักกะ ซึ่งในวงการนักกฎหมายได้ถือเอาวันที่พระองค์สิ้นพระชนม์ เป็นวันรำลึกถึงคุณงามความดีของท่านที่มีต่อวงการกฎหมายไทย โดยใช้ชื่อว่า วันรพี

วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Vincent van Gogh(1)

Vincent Willem van Gogh (30 March 185329 July 1890) was a Dutch Post-Impressionist artist His paintings and drawings include some of the world's best known, most popular and most expensive pieces.
Van Gogh spent his early adult life working for a firm of art dealers. After a brief spell as a teacher, he became a missionary worker in a very poor mining region. He did not embark upon a career as an artist until 1880. Initially, Van Gogh worked only with sombre colours, until he encountered
Impressionism and Neo-Impressionism in Paris. He incorporated their brighter colours and style of painting into a uniquely recognizable style, which was fully developed during the time he spent at Arles, France. He produced more than 2,000 works, including around 900 paintings and 1,100 drawings and sketches, during the last ten years of his life. Most of his best-known works were produced in the final two years of his life, during which time he cut off part of his left ear following a breakdown in his friendship with Paul Gauguin. After this he suffered recurrent bouts of mental illness, which led to his suicide.
The central figure in Van Gogh's life was his brother
Theo, who continually and selflessly provided financial support. Their lifelong friendship is documented in numerous letters they exchanged from August 1872 onwards. Van Gogh is a pioneer of what came to be known as Expressionism. He had an enormous influence on 20th century art, especially on the Fauves and German Expressionists.

Biography

Early life (1853–1869)
Vincent Willem van Gogh was born in
Groot-Zundert, a village close to Breda in the Province of North Brabant in the southern Netherlands. Van Gogh was the son of Anna Cornelia Carbentus and Theodorus van Gogh, who was a minister of the Dutch Reformed Church. He was given the same name as his grandfather—and a first brother stillborn exactly one year before. It has been suggested that being given the same name as his dead elder brother might have had a deep psychological impact on the young artist, and that elements of his art, such as the portrayal of pairs of male figures, can be traced back to this. The practice of reusing a name in this way was not uncommon. The name "Vincent" was often used in the Van Gogh family: the baby's grandfather was called Vincent van Gogh (1789-1874); he had received his degree of theology at the University of Leiden in 1811. Grandfather Vincent had six sons, three of whom became art dealers, including another Vincent, referred to in Van Gogh's letters as "Uncle Cent." Grandfather Vincent had perhaps been named after his own father's uncle, the successful sculptor Vincent van Gogh (1729-1802). Art and religion were the two occupations to which the Van Gogh family gravitated.
Four years after Van Gogh was born, his brother
Theodorus (Theo) was born on 1 May 1857. There was also another brother named Cor and three sisters, Elisabeth, Anna and Wil. As a child, Van Gogh was serious, silent and thoughtful. In 1860 he attended the Zundert village school, where the only teacher was Catholic and there were around 200 pupils. From 1861 he and his sister Anna were taught at home by a governess, until 1 October 1864, when he went away to the elementary boarding school of Jan Provily in Zevenbergen, the Netherlands, about 20 miles (32 km) away. He was distressed to leave his family home, and recalled this even in adulthood. On 15 September 1866, he went to the new middle school, Willem II College in Tilburg, the Netherlands. Constantijn C. Huysmans, who had achieved a certain success himself in Paris, taught Van Gogh to draw at the school and advocated a systematic approach to the subject. In March 1868 Van Gogh abruptly left school and returned home. His comment on his early years was: "My youth was gloomy and cold and sterile

Art dealer and preacher (1869–1878)

In July 1869, at the age of fifteen, he obtained a position with the art dealer Goupil & Cie in The Hague through his Uncle Vincent ("Cent"), who had built up a good business which became a branch of the firm. After his training, Goupil transferred him to London in June 1873, where he lodged at 87 Hackford Road, Brixton and worked at Messrs. Goupil & Co., 17 Southampton Street.This was a happy time for Van Gogh: he was successful at work, and was already, at
the age of 20, earning more than his father. He fell in love with his landlady's daughter, Eugénie Loyer, but when he finally confessed his feeling to her, she rejected him, saying that she was already secretly engaged to a previous lodger. Vincent became increasingly isolated and fervent about religion. His father and uncle sent him to Paris, where he became resentful at how art was treated as a commodity, and he manifested this to the customers. On
1 April 1876, it was agreed that his employment should be terminated.
His religious emotion grew to the point where he felt he had found his true vocation in life, and he returned to England to do unpaid work, first as a supply teacher in a small boarding school overlooking the harbour in
Ramsgate; he made some sketches of the view. The proprietor of the school relocated to Isleworth, Middlesex. Vincent decided to walk to the new location. This new position did not work out, and Vincent became a nearby Methodist minister's assistant in wanting to "preach the gospel everywhere."
At
Christmas that year he returned home, and then worked in a bookshop in Dordrecht for six months, but he was not happy in this new position and spent most of his time in the back of the shop either doodling, or translating passages from the Bible into English, French, and German. His roommate from this time, a young teacher called Görlitz, later recalled that Vincent ate frugally, preferring to eat no meat. In an effort to support his wish to become a pastor, his family sent him to Amsterdam in May 1877 where he lived with his uncle Jan van Gogh, a rear admiral in the navy. Vincent prepared for university, studying for the theology entrance exam with his uncle Johannes Stricker, a respected theologian who published the first "Life of Jesus" available in the Netherlands. Vincent failed at his studies and had to abandon them. He left uncle Jan's house in July 1878. He then studied, but failed, a three-month course at the Protestant missionary school (Vlaamsche Opleidingsschool) in Laeken, near Brussels.

Borinage and Brussels (1879–1880)

In January 1879 Van Gogh got a temporary post as a missionary in the village of Petit Wasmes]in the coal-mining district of Borinage in Belgium, bringing his father's profession to people felt to be the most wretched and hopeless in Europe. Taking Christianity to what he saw as its logical conclusion, Vincent opted to live like those he preached to, sharing their hardships to the extent of sleeping on straw in a small hut at the back of the baker's house where he was billetedthe baker's wife used to hear Vincent sobbing all night in the little hut His choice of squalid living conditions did not endear him to the appalled church authorities, who dismissed him for "undermining the dignity of the priesthood." After this he walked to Brusselsreturned briefly to the Borinage, to the village of Cuesmes, but acquiesced to pressure from his parents to come "home" to Etten. He stayed there until around March the following year to the increasing concern and frustration of his parents. There was considerable conflict between Vincent and his father, and his father made enquiries about having his son committed to a lunatic asylum at Geel Vincent fled back to Cuesmes where he lodged with a miner named Charles Decrucq, with whom he stayed until October. He became increasingly interested in the everyday people and scenes around him, which he recorded in drawings.
In 1880, Vincent followed the suggestion of his brother Theo and took up art in earnest. In autumn 1880, he went to Brussels, intending to follow Theo's recommendation to study with the prominent Dutch artist
Willem Roelofs, who persuaded Van Gogh (despite his aversion to formal schools of art) to attend the Royal Academy of Art. There he not only studied anatomy, but the standard rules of modelling and perspective, all of which, he said, "you have to know just to be able to draw the least thing." Vincent wished to become an artist while in God's service as he stated, "to try to understand the real significance of what the great artists, the serious masters, tell us in their masterpieces, that leads to God; one man wrote or told it in a book; another in a picture.

Etten (1881)
In April 1881, Van Gogh went to live in the countryside with his parents in Etten and continued drawing, using neighbours as subjects. Through the summer he spent much time walking and talking with his recently widowed cousin, Kee Vos-Stricker, the daughter of his mother's older sister and Johannes Stricker, who had shown real warmth towards his nephew. Kee was seven years older than Vincent, and had an eight-year-old son. Vincent proposed marriage, but she flatly refused with the words: "No, never, never" (niet, nooit, nimmer). At the end of November he wrote a strong letter to Uncle Stricker, and then, very soon after, hurried to Amsterdam where he talked with Stricker again on several occasions, but Kee refused to see him at all. Her parents told him "Your persistence is disgusting". In desperation he held his left hand in the flame of a lamp, saying, "Let me see her for as long as I can keep my hand in the flame." He did not clearly recall what happened next, but assumed that his uncle blew out the flame. Her father, "Uncle Stricker," as Vincent refers to him in letters to Theo, made it clear that there was no question of Vincent and Kee marrying, given Vincent's inability to support himself financially. What he saw as the hypocrisy of his uncle and former tutor affected Vincent deeply. At Christmas he quarreled violently with his father, even refusing a gift of money, and immediately left for The Hague.

Drenthe and The Hague (1881–1883)
In January 1882 he settled in The Hague, where he called on his cousin-in-law, the painter Anton Mauve, who encouraged him towards painting. He soon fell out with Mauve, however, perhaps over the issue of drawing from plaster casts; Mauve appeared suddenly to go cold towards Vincent, not returning a couple of his letters. Vincent guessed that Mauve had learned of his new domestic relationship with the alcoholic prostitute, Clasina Maria Hoornik (born February 1850, The Hague; she was known as Sien) and her young daughter.Van Gogh had met Sien towards the end of January.Sien had a five year-old daughter, and was pregnant. She had already had two other children who had died, although Vincent was unaware of this.On 2 July, Sien gave birth to a baby boy, Willem.When Vincent's father discovered the details of this relationship, considerable pressure was put on Vincent to abandon Sien and her children. Vincent was at first defiant in the face of his family's opposition.

His uncle Cornelis, an art dealer, commissioned 20 ink drawings of the city from him; they were completed by the end of May. In June Vincent spent three weeks in a hospital suffering gonorrhoea. In the summer, he began to paint in oil. In autumn 1883, after a year with Sien, he abandoned her and the two children. Vincent had thought of moving the family away from the city, but in the end he made the break. It is possible that lack of money had pushed Sien back to prostitution; the home had become a less happy one, and Vincent may have felt family life was irreconcilable with his artistic development. When Vincent left, Sien gave her daughter to her mother, and baby Willem to her brother, and moved to Delft and then Antwerp.Willem remembered being taken to visit his mother in Rotterdam at around the age of 12, where his uncle tried to persuade Sien to marry in order to legitimize the child. Willem remembered his mother saying: "But I know who the father is. He was an artist I lived with nearly 20 years ago in The Hague. His name was Van Gogh." She then turned to Willem and said "You are called after him." Willem believed himself to be Van Gogh's son, but the timing of the birth makes this unlikely.In 1904 Sien drowned herself in the river Scheldt.
Van Gogh moved to the Dutch province of
Drenthe in the north of the Netherlands, and in December, driven by loneliness, to stay with his parents who were by then living in Nuenen, North Brabant, also in the Netherlands.

วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วันชาติฝรั่งเศส

วันชาติฝรั่งเศสตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ซึ่งถือเป็นวันแห่งการปฎิวัติการปกครองจากระบบเจ้าขุนมูลนายไปสู่การปกครองในระบอบสาธารณรัฐ โดยประชาชนทั่วทั้งประเทศได้ลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองแบบยุกโบราณจนกระทั้งได้รับชัยชนะเป็นครั้งแรกจากบุกเข้าทลายคุกบาสติลที่เปรียบเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของการกดขี่ประชาชน เมื่อ 209 ปีก่อนและนำไปสู่การล้มล้างระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้สำเร็จ โดยสมัชชาแห่งชาติได้กำหนดโครงสร้างกฏหมายฉบับใหม่ที่ยกเลิกการให้ความมีเอกสิทธิ์ ขจัดเรื่องสินบนและล้มเลิกระบบฟิวดัล(ระบบศักดินา) จากนั้นต่อมาจึงมีการจัดงานฉลองแห่งชาติขึ้นเรียกว่า "The Feast of the Federation" เนื่องในโอกาสครบรอบ 1 ปีของเหตุการณ์จลาจลที่กองกำลังแห่งชาติจากทั่วประเทศได้เดินทางรวมพลกันที่ "Champs-de-Mars" ในกรุงปารีส แต่พอหลังจากนั้นการจัดงานฉลองเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ของวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2332 ก็ต้องหยุดไปเนื่องจากสถานการณ์ภายในประเทศยังคงไม่สงบเกิดสงครามปฏิวัติขึ้นหลายครั้งในช่วงระยะเวลาปี พ.ศ.2335-2345 และมาในสมัย "the Third Republic*"นี้เอง รัฐบาลจึงได้มีความคิดที่จะรื้อฟื้นการจัดงานเฉลิมฉลองวันชาติฝรั่งเศสขึ้นมาใหม่ โดยมีการผ่านร่างกฎหมายฉบับเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ.2423 ขึ้นมา ซึ่งกำหนดให้วันที่ 14 กรกฎาคม ของทุกปีเป็น "วันชาติฝรั่งเศส"และได้จัดงานเฉลิมฉลองครั้งแรกขึ้นในปีเดียวกันนั้น
ทั้งนี้งานจะเริ่มตั้งแต่ค่ำของวันที่ 13 โดยจะมีการแห่คบเพลิงและล่วงเข้าวันรุ่งขึ้นเมื่อระฆังตามโบสถ์วิหารต่าง ๆ หรือเสียงปืนดังขึ้นนั่นเป็นสัญญาณที่บ่งบอกว่างานฉลองได้เริ่มต้นขึ้นแล้วอย่างเป็นทางการ เริ่มจากริ้วขบวนการสวนสนามของเหล่าทัพ จากนั้นเมื่อถึงช่วงเวลากลางวันประชาชนจะร่วมฉลองด้วยการเต้นรำอย่างรื่นเริงสนุกสนานไปตามท้องถนนและมีการจัดเลี้ยงกันอย่างเอิกเกริกจนถึงเวลาค่ำ ซึ่งสิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือการจุดพลและการละเล่นดอกไม้ไฟที่ถือประเพณีปฏิบัติจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นยังมีสิ่งสร้างความบันเทิงอื่น ๆ อีกมากมายที่จัดขึ้นทั่วประเทศทั้งการจัดการแข่งขันกีฬา การจัดนิทรรศการ งานแสดงสินค้า โดยไม่มีชาวฝรั่งเศสคนใดจะละเลยไม่นึกถึงและร่วมฉลองในวันสำคัญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประเทศครั้งนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ฝรั่งเศสนั้นเริ่มมีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกันอย่างเป็นทางการเมื่อ 300 ปีก่อน ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงแต่งตั้งคณะทูตเดินทางมาเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศไทยในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ถึงกรุงศรีอยุธยา ขณะเดียวกับพระองค์ทรงส่งคณะทูตฝ่ายไทยเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ถึงพระราชวังแวร์ซายส์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนอีกด้วย นับแต่นั้นเป็นต้นมาความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองประเทศจึงปฏิบัติสืบต่อเรื่อยมาถึงทุกวันนี้ โดยทั้งสองฝ่ายต่างแลกเปลี่ยนความร่วมมือทั้งทางด้านวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาและอื่น ๆ อีกมาก ทั้งนี้กระทรวงและองค์กรต่าง ๆ ของฝรั่งเศสได้ให้การช่วยเหลือแก่ประเทศไทยนำไปใช้ในโครงการต่าง ๆ เป็นเงินกว่า 250 ล้านบาท แต่กระนั้นก็ตามฝรั่งเศสก็ยังเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายไม่มากนักสำหรับคนไทย แม้ว่าจะมีบทบาทในฐานะประเทศที่ยังใหญ่ในด้านศิลปวัฒนธรรมมาช้านานก็ตาม แต่ทั้งนี้ในความจริงแล้วนั้นฝรั่งเศสจัดได้ว่าเป็นประเทศที่ 4 รองจากญี่ปุ่น,เดนมาร์ก และเยอรมณีในการให้ความร่วมมือกันมากที่สุดในระดับทวิภาคี
นอกจากนี้ในช่วงระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาฝรั่งเศสได้ตอกย้ำที่จะดำเนินการส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนสาขาอื่น ๆ ให้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น ในขณะที่ประเทศไทยต้องประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ อยู่นี้จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อนักเรียนนักศึกษาที่ได้รับทุนจากรัฐบาลและทุนส่วนตัว จึงได้มีการจัดนิทรรศการการศึกษาในฝรั่งเศส เพื่อให้เข้าใจว่าแท้จริงแล้วการศึกษาในฝรั่งเศสไม่แพงอย่างที่คิด ซึ่งเสียค่าเล่าเรียนตกปีละ 10,000 บาทโดยประมาณเพื่อนำความรู้ที่ได้กลับมาพัฒนาประเทศ
ในเรื่องของความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างฝรั่งเศสกับไทย ซึ่งรู้กันดีว่ากำลังกดดันจากปัญหาวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม ปีที่แล้วแต่อย่างไรก็ดีภาพที่ออกมากลับตัดกันอย่างสิ้นเชิง โดยสินค้าผู้บริโภคที่ฝรั่งเศสนำเข้าประเทศไทยนั้นอยู่ในระดับคงที่ ขณะที่ประเทศไทยกลับส่งสินค้ามากขึ้นสาเหตุจากการลดค่าเงินบาท จึงส่งผลให้มีส่วนส่งเสริมการส่งออกของสินค้าของไทยได้มากขึ้น ซึ่งบรรดาบริษัทของชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นฐานการส่งออกของสินค้าไทยต่างรู้พึงพอใจกับยอกการส่งออกไปสู่ตลาดทั่วโลกพุ่งสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการมุ่งเน้นที่ตลาดภายในประเทศของบริษัทย่อยของฝรั่งเศสประจำปรเทศไทยภาพที่ออกมาปรากฎผลดีในระยะสั้นเท่านั้น แต่หัวใจสำคัญก็คือการลงทุนซึ่งประเทศไทยได้มุ่งเป้าไปที่แผนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ โดยได้มีการร่างในรายละเอียดของแผนการใหญ่เพื่อดึงนักลงทุนต่างชาติให้ห้นมาลงทุนในประเทศไทย ซึ่งกลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ของฝรั่งเศสกำลังเฝ้าจับตามอง

วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551

gouvernement

Le gouvernement est l'ensemble des personnes et des services chargés du pouvoir exécutif dans un État. Le gouvernement doit décider et entreprendre les actions nécessaires à la conduite de l'État. Il en est responsable devant les citoyens.
Politiquement, dans un
régime parlementaire, le gouvernement partage le pouvoir exécutif avec le chef de l'État qui peut être un monarque (cas du Royaume-Uni) ou un président élu au suffrage universel direct (cas de la France) ou indirect. Il est responsable devant le Parlement dans un régime parlementaire ou semi-présidentiel.
Un gouvernement est généralement constitué, sous l'autorité d'un Chef de gouvernement [qui peut être appelé
Premier ministre (comme en France), Président du Conseil (comme en Italie et en France sous la IIIe et la IVe République), ou encore Chancelier (comme en Allemagne)], de ministres et est responsable politiquement devant le parlement dans un régime de type parlementaire. Chaque ministre est titulaire d'un portefeuille ministériel. Les ministres sont solidaires et le gouvernement est donc un organe collégial. La démission du chef du gouvernement entraine celle de tout le gouvernement.
Dans un
régime présidentiel, le gouvernement est placé sous l'autorité directe du chef de l'État et n'est pas responsable devant le Parlement. Les ministres composant le gouvernement sont individuellement responsables devant le chef de l'État ; il ne s'agit donc pas d'un organe collégial.
Dans un sens large, le gouvernement désigne l'ensemble des pouvoirs publics constitutionnels, c’est-à-dire des institutions centrales prévues par la
Constitution et disposant du pouvoir politique. Par exemple pour la France, le gouvernement de la Cinquième République française est constitué du président de la République, du gouvernement stricto sensu, du Parlement et du Conseil constitutionnel. C'est dans ce sens du terme gouvernement qu'on peut dire qu'un État est composé d'un territoire, d'une population et d'un gouvernement. C'est aussi dans ce sens que le « mode de gouvernement » désigne le régime politique d'un État.

วันจันทร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Eraser


History

Prior to the invention of the rubber eraser, tablets of wax would be used to erase lead/charcoal marks from paper. Some people claim that white bread (without crust) would be used as an eraser along with wax tablets, this would work effectively, but the bread would disintegrate, and would be too costly to replenish.[1]
In 1770, Edward Nairne, an English engineer, is credited with creating the first rubber eraser because he heard that there was a competition for the entire world, to see who could have the best innovation. He reportedly sold natural rubber erasers for the high price of 3 shillings per half-inch cube. According to Nairne, he inadvertently picked up a piece of rubber instead of breadcrumbs, discovered rubber's erasing properties, and began selling rubber erasers. Incidentally, this was the first practical application of the substance in Europe, and rubbing out the pencil marks gave it its English name.
However, rubber in its raw form shared the same inconveniences as bread, since it was perishable and would go bad over time. In 1839, inventor
Charles Goodyear discovered the process of vulcanization, a method that would cure rubber and make it a durable material. Rubber erasers became common with this advent of vulcanization.
On
March 30, 1858, Hymen Lipman of Philadelphia, USA, received the first patent for attaching an eraser to the end of a pencil. It was later invalidated because it was determined to be simply a composite of two devices rather than an entirely new product

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ดอกไม้ประจำวันเกิด


เกิดวันอาทิตย์
ต้นไม้ประจำวันเกิด เป็นต้นพวงแสด ต้นพุทธรักษา ต้นธรรมรักษา และต้นเยอร์บีร่าที่มีดอกสีส้ม
ส่วนดอกไม้ประจำวันเกิด เป็นดอกกุหลาบสีส้ม จะถูกโฉลกกับเธอที่เกิดวันอาทิตย์
คนเกิดวันนี้มีนิสัยทะเยอทะยานและกระตือรือล้น เธอและดอกไม้มีความหมายถึงความฝันอันยิ่งใหญ่ ดอกไม้อีกชนิดสำหรับผู้เกิดวันนี้คือ ดอกทานตะวัน อันเป็นสัญลักษณ์คู่กับพระอาทิตย์เสมอ บอกถึงตัวเธอที่เชื่อมั่น หัวสูง ถือตัว และหยิ่งในศักดิ์ศรีด้วย
เกิดวันจันทร์
ต้นไม้ประจำวันเกิดของเธอคือ ต้นมะลิ ต้นแก้ว ต้นพุด ต้นจำปี ยิ่งถ้าปลูกแล้วออกดอกหอม เธอจะยิ่งโชคดี
ดอกไม้ประจำวันเกิด คือ ดอกมะลิขาวสะอาด หมายถึงตัวเธอที่มีความนุ่มนวลอ่อนโยน เรียบร้อย ส่วนดอกไม้อีกชิดคือ ดอกกุหลาบขาว หมายถึงความรักที่อ่อนโยนและไม่ต้องการสิ่งใดตอบแทนเพราะคนวันจันทร์มักอ่อนไหวง่าย โรแมนติก และช่างฝัน


เกิดวันอังคาร

ต้นไม้ที่แสนดีของเธอคือ ต้นชัยพฤกษ์ ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ ต้นยี่โถ ออกดอกสีชมพู ต้นเข็มออกดอกสีชมพู ถ้าต้นไม้ของเธอออกดอกมากๆ บอกได้ว่าเธอกำลังมีความสุข

ดอกไม้ประจำวันเกิดของเธอ คือ ดอกกล้วยไม้ โดยเฉพาะที่ออกดอกสีชมพู เพราะมีความหมายถึงความรักที่ร้อนรุ่ม หวือหวา วูบวาบตามอารมณ์ของคนที่เกิดวันนี้


เกิดวันพุธ

ต้นไม้ประจำตัวคนที่เกิดวันพุธนั้นพิเศษกว่าคนอื่นตรงที่เป็นต้นไม้ใบเขียว โดยเฉพาะต้นกระดังงา ต้นสนฉัตร ดังนั้นเธอควรปลูกต้นไม้เยอะๆ ถึงจะโชคดี ต้นไม้เหล่านั้นจะช่วยปกป้องคุ้มครองเธอได้ คือ ดอกบัว หมายถึงจิตใจอันสงบ เพราะคนที่เกิดวันพุธมักชอบเป็นนักการทูตและรัก สันติภาพ

ดอกไม้ประจำวันเกิด คือดอกบัว ซึ่งคนที่เกิดวันพุธมักจะเป็นนักคำนวณ (เงิน) สีเหลืองอร่ามราวกับทองของดอกไม้ชิดนี้ หมายถึงรักของเธอต้องมาพร้อมเงิน




เกิดวันพฤหัสบดี

ต้นไม้ประจำตัวคือ ต้นโสน ต้นราชพฤกษ์ และต้นบานบุรี หากมีต้นไม้เหล่านี้อยู่ในบ้านจะช่วยคุ้มครองดูแลเธอ

ดอกไม้ประจำวันเกิดของเธอคือ ดอกกุหลาบสีเหลือง หมายถึงการเปลี่ยนแปลงในเรื่องความรัก รักซ้อนซ่อนใจ เพราะคนที่เกิดวันนี้เป็นคนรักงายหน่ายเร็ว เจ้าชู้เล็กๆ ดอกไม้อีกชนิดหนึ่งคือดอกคาร์เนชั่นสีชมพู หมายถึงรักของเธอที่อ่อนโยนและอ่อนหวาน เธอที่เกิดวันนี้ จริงๆ แล้วเป็นคนสุภาพอ่อนโยนและมีอารมณ์ขัน น่ารักเหมือนดอกไม้ของเธอนั่นแหละ


เกิดวันศุกร์

ต้นไม้ที่แสนดีของคนที่วันศุกร์คือ ต้นพยับหมอก ต้นแส ต้นอัญชัน

ส่วนดอกไม้ของเธอคือ กุหลาบทุกสี เพราะคนที่เกิดวันศุกร์มักเป็นนักรักที่ยิ่งใหญ่มีเสน่ห์ล้นเหลือ หรือจะเป็นดอกไม้เจ้าเสน่ห์ที่มีความหมายหวานแหววแบบดอกไวโอแลตว่า "ฉันรักเธอแล้ว หากรักฉันก็บอกกันบ้างนะ" คนเกิดวันศุกร์บางอารมณ์ก็โลเล จึงได้ดอกลาเวนเดอร์ที่มีความหมายถึงรักที่สับสน ไม่แน่นอน ไปครองอีกดอกหนึ่ง



เกิดวันเสาร์

จะมีต้นไม้พวกต้นกัลปังหา ต้นพวงคราม ต้นอินทนิล เป็นต้นไม้ประจำวันเกิด

ดอกไม้ประจำวันเกิดคือ ดอกลิลลี่ อันหมายถึงรักครั้งแรก รักที่บริสุทธิ์เพราะคนที่เกิดวันเสาร์เป็นคนจริงจังและซีเรียส จึงรักใครยากหน่อย ทว่าดอกลิลี่เป็นดอกที่กระทบใจคนขี้เหงาวันเสาร์ได้ดีทีเดียว

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

นากีส

ผู้นำพม่าจะพิจารณาให้จนท.ต่างชาติเข้าช่วยเหยือนาร์กีส
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 15:54 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
พลเอกเต็ง เส่ง ผู้นำรัฐบาลทหารของพม่ากล่าวระหว่างพิธีเปิดการประชุมผู้บริจาคที่กรุงย่างกุ้งในวันนี้ว่า รัฐบาลทหารพม่าจะอนุญาตให้เจ้าหน้าที่หน่วยให้ความช่วยเหลือต่างชาติที่ปรารถนาที่จะฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยเข้าไปยังพื้นที่ประสบภัยอย่างรุนแรงจากไซโคลนนาร์กีส...
-->
ไทยพร้อมให้ความร่วมมือลำเลียงสิ่งของบรรเทาทุกข์เข้าพม่า
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 13:11 น. — Manager Online - Breaking News
นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ "สนทนาประสาสมัคร" ถึงการพบปะกับนายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ ในโอกาสเดินทางไปพม่าเพื่อให้ความช่วยเหลือ และลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัยให้กับผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส ว่า ไทยพร้อมให้ความสะดวก และเป็น
เวินทุ่มบริจาค10ล้าน ย้ำจีนเข้าร่วมประชุมฯช่วยพม่า
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:50 น. — Manager Online - มุมจีน
เอเอฟพี - หยาง เจียชื่อรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศจีนแถลงรัฐบาลจีนยืนยันจะเข้าร่วมการประชุมช่วยเหลือพม่าในวันอาทิตย์(25พ.ค.)นี้ เพื่อร่วมระดมความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าโดยหยางเผยว่า แม้ขณะนี้จีนเองยังต้องเผชิญหน้ากับการให้ความช่
ชาวกมลาภูเก็ตเหยื่อสึนามิร่วมบริจาคช่วยเหยื่อนาร์กีสพม่า-แผ่นดินไหวที่จีน
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:23 น. — Manager Online - ภูมิภาค
ศูนย์ข่าวภูเก็ต - ประชาชนในตำบลกมลา จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเคยได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ร่วมบริจาคสิ่งของสมทบมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ส่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยในประเทศพม่าและจีน
เลขาฯUNเยือนพม่าอีกรอบเพื่อประชุมช่วยเหลือผู้ประสบภัย
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:53 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ เดินทางออกจากประเทศไทยช่วงเช้าวันนี้ มุ่งหน้าสู่นครย่างกุ้งของพม่า เพื่อร่วมเป็นประธานในการประชุมระหว่างกลุ่มประเทศผู้บริจาค และให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อพายุไซโคลนนาร์กีส การประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อรัฐบาลทหารพม่ายอมเปิดประตูรับความช่วยเหลือจากนานาประเทศ...
ญี่ปุ่นเตรียมส่งทีมช่วยเหลือผู้ประสบภัยเข้าพม่าวันนี้
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:43 น. — Manager Online - Breaking News
กระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น แถลงว่า จะส่งคณะตรวจสอบหาความจริงต่อความเสียหายที่เกิดจากพายุไซโคลนนาร์กีสเข้าไปในพม่าในวันนี้และพรุ่งนี้ เพื่อนำไปสู่การส่งคณะแพทย์เข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย เจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นจำนวน 4 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่กระทรวงต่างประเท
เลขาฯ ยูเอ็น เยือนพม่าอีกรอบ ร่วมประชุมช่วยเหลือผู้ประสบภัย
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:27 น. — Manager Online - Breaking News
นายบัน คี มุน เลขาธิการสหประชาชาติ เดินทางออกจากประเทศไทยช่วงเช้าวันนี้ มุ่งหน้าสู่นครย่างกุ้งของพม่า เพื่อร่วมเป็นประธานในการประชุมระหว่างกลุ่มประเทศผู้บริจาค และให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อพายุไซโคลนนาร์กีส การประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อรัฐบาลทหารพม่า
อาเซียน-ยูเอ็น ถกช่วยเหยื่อนาร์กีส
อาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 07:39 น. — Posttoday.com : Breaking News
อาเซียน-ยูเอ็นจัดการประชุม ระดมความคิดช่วยเหยื่อนาร์กีสในพม่า
3 อาทิตย์เพิ่งคิดได้ ตานฉ่วยยอมให้กู้ภัยต่างชาติเข้าพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 22:33 น. — Prachatai.com เว็บหนังสือพิมพ์ออนไลน์
เลขายูเอ็นกล่อมถึงเนปยิดอว์ ตานฉ่วยยอมให้เจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ชาวต่างชาติทุกคนไม่ว่าสัญชาติใด เข้ามาให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยนาร์กีส หลังพายุพัดผ่านมาได้ 3 สัปดาห์ ด้านรัฐสภายุโรปมีมติให้นำตัวตานฉ่วยขึ้นศาลโลก ฐานไม่ยอมรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศจนมีผู้เสียชีวิตหลังไซโคลนจำนวนมาก
ชาวภูเก็ตมอบของหนัก8ตันช่วยเหลือเหยื่อนาร์กิสที่พม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 21:34 น. — Manager Online - ภูมิภาค
ระนอง-ประชาชนชาวจังหวัดภูเก็ต ร่วมบริจาคสิ่งของบริจาคช่วยเหลือชาวพม่า ที่ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส หนักร่วม 8 ตัน มูลค่ากว่า 3 แสนบาท ผ่านทางจังหวัดระนอง คาดต้องใช้เวลานาน 3 วัน ถึงถึงมือผู้ประสบภัย
นายกฯเตรียมปล่อยเที่ยวบินช่วยพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 14:39 น. — INN : ข่าวการเมือง
บรรยากาศ ณ บริเวณคลังสินค้า 3 ท่าอากาศยานดอนเมืองในขณะนี้มีสื่อมวลชนขนานต่างๆ ทยอยเดินทางมายังบริเวณดังกล่าวเพื่อร่วมทำข่าวงานพิธีเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์ของสหประชาชาติสำหรับลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัยเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าอย่างต่อเนื่อง...
ทภ.3 ลำเลียงสิ่งของช่วยเหยื่อนาร์กีสต่อเนื่อง - เผยพม่าซาบซึ้งน้ำพระทัยในหลวง
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 14:17 น. — Manager Online - ภูมิภาค
แม่ทัพภาค 3 ลุยข้ามฝั่งพม่า นำเครื่องอุปโภคบริโภคกว่า 71 ตัน แจกจ่ายผู้ประสพภัยนาร์กีส "พลจัตวาอ่องไน"ผู้บัญชาการควบคุมที่ 15 เผยชาวพม่าซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระบรมราชินีนาถ และบรมวงศานุวงศ์
เลขาธิการยูเอ็นเสนอจะช่วยเหยื่อแผ่นดินไหวจีน
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 12:17 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
โดยการเยือนจีนครั้งนี้ นายบัน คีมูน ยังได้พบปะนายกรัฐมนตรีเวิน เจียเป่า ในเมืองอิงซิ่ว มณฑลเสฉวน ซึ่งเป็นศูนย์กลางแผ่นดินไหวครั้งนี้ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตหรือสูญหายกว่า 80,000 คน และยังมีกำหนดจะเดินทางไปเยี่ยมเหยื่อผู้ประสบภัยในเมือง เหวินฉวน ด้วย นายบัน คีมูน เดินทางเยือนจีนต่อทันที...
เลขายูเอ็นเดินทางถึงจีนแล้ว
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:36 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า นายบันเดินทางถึงเมืองเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวน ที่ได้รับความเสียหายหนักจากแผ่นดินไหว หลังจากเดินทางไปเยือนพม่า ซึ่งเขาสามารถโน้มน้าวให้รัฐบาลทหารพม่ายอมอนุญาตให้เจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ต่างชาติเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีส...
ชาวพม่าในพื้นที่ประสบภัยออกไปลงประชามติรธน.ฉ.ใหม่แล้ว
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 11:03 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
รัฐบาลเริ่มเปิดให้ประชาชนลงประชามติตั้งแต่เวลา 06.00 น.ตามเวลาท้องถิ่น หรือตรงกับเวลา 06.30 น.ตามเวลาในไทยในเขตนครย่างกุ้งและบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดี ซึ่งได้รับความเสียหนักจากพายุไซโคลนนาร์กีสเมื่อสามสัปดาห์ที่ผ่านมา รัฐบาลทหารพม่าระบุว่า...
IUCNเตือนพม่าเร่งฟื้นป่าโกงกาง-แนวกันภัยธรรมชาติ หลังถูกนาร์กีสถล่ม
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:47 น. — Manager Online - Breaking News
สหภาพพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ หรือ ไอยูซีเอ็น (IUCN) เตือนว่า ป่าโกงกางและแนวกันภัยธรรมชาติจะต้องได้รับการปลูกขึ้นใหม่อย่างเร่งด่วนในพม่า เพื่อป้องกันน้ำท่วมและภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต ไอยูซีเอ็น ระบุว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นบริเ
ชาวพม่าในเขตภัยพิบัติเริ่มลงประชามติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:24 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
รัฐบาลเริ่มเปิดให้ประชาชนลงประชามติตั้งแต่เวลา 06.00 น.ตามเวลาท้องถิ่น หรือตรงกับเวลา 06.30 น.ตามเวลาในไทยในเขตนครย่างกุ้งและบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดี ซึ่งได้รับความเสียหนักจากพายุไซโคลนนาร์กีสเมื่อสามสัปดาห์ที่ผ่านมา รัฐบาลทหารพม่าระบุว่า...
45 องค์กรนานาชาติเตรียมประชุมระดมความช่วยเหลือพม่าพรุ่งนี้
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 10:17 น. — Manager Online - Breaking News
สหประชาชาติเปิดเผยว่า มีองค์กรระดับภูมิภาคและประเทศต่าง ๆ กว่า 45 ราย ได้ตกลงที่จะเข้าร่วมการประชุมในพม่าวันอาทิตย์นี้ เพื่อระดมความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ประสบภัยพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่า การประชุมกำหนดจัดขึ้นที่นครย่างกุ้ง โดยมีสหประชาชาติและสมา
นายริสลีย์โฆษกUNกังวลคำสัญญาเรื่องการช่วยเหลือชาวพม่า
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 06:02 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
นายพอล ริสลีย์ โฆษกโครงการอาหารโลกของสหประชาชาติ เปิดเผยว่า ท่ามกลางหลายฝ่ายที่ยินดีกับถ้อยแถลงล่าสุดของรัฐบาลทหารพม่า ที่ระบุว่า จะยอมให้คณะผู้เชี่ยวชาญด้านการบรรเทาทุกข์ เดินทางเข้าช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรมจากพายุไซโคลนนาร์กีสในพม่าได้ ซึ่งเป็นท่าทีที่มีขึ้น หลังนายบัน คี-มูน เลขาธิการยูเอ็น...
เลขาฯUNเผยทั่วโลกกำลังจับตาดูพม่าหวังให้ยอมรับความช่วย
เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 05:18 น. — INN : ข่าวต่างประเทศ
หลังจากเจรจากับพลเอกอาวุโส ตานฉ่วย ผู้นำสูงสุดของทางการพม่า นานกว่า 2 ชั่วโมง นายบัน คี-มูน เลขาธิการสหประชาชาติหรือยูเอ็น เปิดเผยว่า ทั่วโลกกำลังจับตาดูพม่าหลังจากมีการผลักดันให้รัฐบาลทหารพม่ายอมรับความช่วยเหลือจากนานาชาติ ในการช่วยผู้รอดชีวิตจากพายุไซโคลนนาร์กีส ซึ่งในการหารือครั้งนี้...

วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

Paper

Papyrus and parchment
Outside
Egypt, parchment or vellum, made of processed sheepskin or calfskin, replaced papyrus as the papyrus plant requires subtropical conditions to grow.
In
America, archaeological evidence indicates that a similar parchment writing material was invented by the Mayans no later than the 5th century AD.[1] Called amatl, it was in widespread use among Mesoamerican cultures until the Spanish conquest. The parchment is created by boiling and pounding the inner bark of trees, until the material becomes suitable for art and writing.
These materials are made from pounded reeds and bark and is technically not true paper, which is made from pulp, rags, and fibers of plants and cellulose.



Early papermaking in China
Papermaking is considered to be one of the Four Great Inventions of Ancient China, since the first papermaking process was developed in China during the early 2nd century. During the Shang (1600 BC-1050 BC) and Zhou (1050 BC-256 BC) dynasties of ancient China, documents were ordinarily written on bone or bamboo (on tablets or on bamboo strips sewn and rolled together into scrolls), making them very heavy and awkward to transport. The light material of silk was sometimes used, but was normally too expensive to consider. While the Han Dynasty Chinese court official Cai Lun is widely regarded to have invented the modern method of papermaking (inspired from wasps and bees) from wood pulp in AD 105, the discovery of specimens bearing written Chinese characters in 2006 at north-east China's Gansu province suggest that paper was in use by the ancient Chinese military more than 100 years before Cai in 8 BC. [2] Archeologically however, true paper without writing has been excavated in China dating to the reign of Emperor Wu of Han from the 2nd century BC, used for purposes of wrapping or padding protection for delicate bronze mirrors.[2] It was also used for safety, such as the padding of poisonous 'medicine' as mentioned in the official history of the period.[2] Although paper used for writing became widespread by the 3rd century,[3] paper continued to be used for wrapping (and other) purposes.
Toilet paper was used in China by at least the 6th century AD.[4] In AD 589, the Chinese scholar-official Yan Zhitui (531-591 AD) once wrote: "Paper on which there are quotations or commentaries from Five Classics or the names of sages, I dare not use for toilet purposes".[4] An Arab traveler to China once wrote of the curious Chinese tradition of toilet paper in AD 851, writing: "They (the Chinese) are not careful about cleanliness, and they do not wash themselves with water when they have done their necessities; but they only wipe themselves with paper".[4] Toilet paper continued to be a valued necessity in China, since it was during the Hongwu Emperor's reign in AD 1393 that the Bureau of Imperial Supplies (Bao Chao Si) manufactured 720,000 sheets of toilet paper for the entire court (produced of the cheap rice-straw paper).[4] For the emperor's family alone, 15,000 special sheets of paper were made, in light yellow tint and even perfumed.[4] Even at the beginning of the 14th century, during the middle of the Yuan Dynasty, the amount of toilet paper manufactured for modern-day Zhejiang province alone amounted to ten million packages holding 1000 to 10000 sheets of toilet paper each.[4]
During the Tang Dynasty (AD 618-907) paper was folded and sewn into square bags to preserve the flavor of tea.[2] During the same period, it was written that tea was served from baskets with multi-colored paper cups and paper napkins of different size and shape.[2] During the Chinese Song Dynasty (AD 960-1279) not only did the government produce the world's first known paper-printed money, or banknote (see Jiaozi and Huizi), but paper money bestowed as gifts to deserving government officials were wrapped in special paper envelopes.[4]
Paper spread slowly outside of China; other East Asian cultures, even after seeing paper, could not make it themselves. Instruction in the manufacturing process was required, and the Chinese were reluctant to share their secrets. The paper was thin and translucent, not like modern western paper, and thus only written on one side. The technology was first transferred to Korea in 604 and then imported to Japan by Buddhist priests, around 610, where fibres (called bast) from the mulberry tree were used


Papermaking arrives in the Middle East
After further commercial trading and the defeat of the Chinese in the Battle of Talas in 751, the invention spread to the Middle East.[5] Production was started in Baghdad, where the Arabs invented a method to make a thicker sheet of paper. The manufacture had spread to Damascus by the time of the First Crusade in 1096; but the wars interrupted production, and it split into two centres. Cairo continued with the thicker paper. Iran became the centre of the thinner papers. It was also adopted in India.
Some historians[
who?] speculate that paper was a key element in cultural advancement. According to this theory, Chinese culture was less developed than the West in ancient times prior to the Han Dynasty because bamboo, while abundant, was a clumsier writing material than papyrus; Chinese culture advanced during the Han Dynasty and subsequent centuries due to the invention of paper; and Europe advanced during the Renaissance due to the introduction of paper and the printing press.


European papermaking
The first paper mill in Europe was in Spain, at Xátiva (modern Valencia) in 1120. More mills appeared in Fabriano Italy in about the 13th century, as an import from Islamic Spain. They used hemp and linen rags as a source of fibre. The oldest known paper document in the West is the Mozarab Missal of Silos from the 11th century, probably written in the Islamic part of Spain. Paper is recorded as being manufactured in both Italy and Germany by 1400, just about the time when the woodcut printmaking technique was transferred from fabric to paper in the old master print and popular prints. The first commercially successful paper mill in England was opened by John Spilman in 1588 near Dartford in Kent and was initially reliant on German papermaking expertise


Nineteenth Century advances in papermaking
Paper remained expensive, at least in book-sized quantities, through the centuries, until the advent of steam-driven paper making machines in the 19th century, which could make paper with fibres from wood pulp. Although older machines predated it, the Fourdrinier paper making machine became the basis for most modern papermaking. Nicholas Louis Robert of Essonnes, France, was granted a patent for a continuous paper making machine in 1799. At the time he was working for Leger Didot with whom he quarrelled over the ownership of the invention. Didot sent his brother-in-law, John Gamble, to meet Henry and Sealy Fourdrinier, stationers of London, who agreed to finance the project. Gamble was granted British patent 2487 on 20 October 1801. With the help particularly of Bryan Donkin, a skilled and ingenious mechanic, an improved version of the Robert original was installed at Frogmore, Hertfordshire, in 1803, followed by another in 1804. A third machine was installed at the Fourdriniers' own mill at Two Waters. The Fourdriniers also bought a mill at St Neots intending to install two machines there and the process and machines continued to develop.
Together with the invention of the practical
fountain pen and the mass produced pencil of the same period, and in conjunction with the advent of the steam driven rotary printing press, wood based paper caused a major transformation of the 19th century economy and society in industrialized countries. With the introduction of cheaper paper, schoolbooks, fiction, non-fiction, and newspapers became gradually available by 1900. Cheap wood based paper also meant that keeping personal diaries or writing letters became possible and so, by 1850, the clerk, or writer, ceased to be a high-status job.
The original wood-based paper was acidic due to the use of
alum and more prone to disintegrate over time, through processes known as slow fires. Documents written on more expensive rag paper were more stable. Mass-market paperback books still use these cheaper mechanical papers (see below), but book publishers can now use acid-free paper for hardback and trade paperback books.