วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550

paris illustré

Un choix de gravures anciennes, dessins illustrations et estampes Paris. Une aide dans votre quête d'une gravure ancienne, dessin d'autrefois, illustration ou estampe permettant d'illustrer une généalogie, une recherche historique ou généalogique.

costumes


Gravures anciennes, dessins illustrations et estampes sur les costumes, la mode féminine de 1784 à 1894. Une aide dans votre quête d'une gravure ancienne sur la mode et le costume, dessin, illustration ou estampe pour illustrer une recherche historique ou généalogique.

costumes


Gravures anciennes, dessins illustrations et estampes sur les costumes, la mode féminine de 1784 à 1894. Une aide dans votre quête d'une gravure ancienne sur la mode et le costume, dessin, illustration ou estampe pour illustrer une recherche historique ou généalogique.

วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Thé


Le thé est une boisson stimulante, obtenue par infusion des feuilles du théier, préalablement séchées et le plus souvent oxydées.
D'origine
chinoise, où il est connu depuis l'Antiquité, le thé est aujourd'hui la boisson la plus bue au monde après l'eau. La boisson elle-même peut prendre des formes très diverses : additionnée de lait et de sucre au Royaume-Uni, longuement bouillie avec des épices en Mongolie, préparée dans de minuscules théières dans la technique chinoise du gōngfū chá.
Par analogie, le mot désigne, dans certaines régions de la
francophonie ou certaines régions de France une infusion préparée à partir d'autres plantes (par ex. thé de tilleul) bien que l'on doive parler plus proprement de tisane. De même dans certains pays où le thé ne fait pas partie d'une culture ancienne (Allemands ou Italiens parlent ainsi de "Tee" et de "Tè" quelle que soit la plante utilisée) et où le café prédomine largement le secteur des boissons chaudes.

วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2550

ทักทาย

วันศุกร์นี้พวกเราจะเข้าค่ายธรรมะกันทั่โรงเรียนคงสนุกแน่เลย เพราะได้อยู่ร่วมกับเพื่อนๆในบรรยากาศที่หนาวแบบสบายๆ เราจะได้ทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี แถมยังได้ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเราด้วย

วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550

การดูแลผม

1.สระผมบ่อยๆด้วยแชมพูคุณภาพดีและเหมาะกับสภาพผม
2.เล็มปลายผมออกเป็นประจำ หรือทุก 4-6 สัปดาห์เพื่อ ป้องกันอาการแตกปลาย
3.ควรนวดผมทุกครั้งหลังสระผมเพื่อฉลออาการเสื่อมสภาพของเส้นผม
4.แปรงผมให้ทั่วศีรษะด้วยแปรงคุณภาพดี เพื่อกระจายน้ำมันหล่อเลี้ยงผม
5.หลีกเลี่ยงความร้อนทั้งจากแสงอาทิตย์และเครื่องเป่าผม
6.อย่ารวบหรือทำผมที่ต้องดึงหรือรั้งรากผมมากเกินไปเพราะจะทำให้ผมร่วงได้โดยไม่จำเป็น
7.อย่าสางผมขณะที่ผมยังเปียก เพราะจะทำให้ผมเปราะ ขาดง่าย
8.ควรใส่หมวกว่ายน้ำ เพื่อปกป้องเส้นผม ทุกครั้งที่คุณว่ายน้ำในทะเล หรือน้ำในสระที่มีคลอรีน
9.หากจะเปลี่ยนสีผม ควรปรึกษาช่างที่มีประสบการณ์ ซึ่งจะบอกได้ว่าเส้นผมของคุณอยู่ในสภาพที่พร้อมจะเปลี่ยนสีหรือเปล่า
10.รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อเส้นผม ได้แก่ ซิลิกา เหล็ก ซัลเฟอร์ สังกะสี และวิตามินบีเช่น ผักใบเขียว ผลไม้ นมสด สาหร่ายทะเล

วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2550

ศัพท์ข่าว

B
1.biocarburant (n.m.) : น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของน้ำมันที่สกัดจากพืช
2.les bleus (n.m.) : ทีมชาติ (ฟุตบอล, รักบี้...) ฝรั่งเศส
3.bouc émissaire (n.m.) : แพะรับบาป

C
1.coup d'État (n.m.) : การก่อรัฐประหาร
2.compromis (n.m.) : การประนีประนอมกัน
3.couvre-feu (n.m.) : เคอร์ฟิว (= มาตรการรักษาความปลอดภัยในยามฉุกเฉิน โดยการห้ามออกจากบ้านในยามวิกาล)
4.cessez-le-feu (n.m.) : การหยุดยิง, การหยุดสู้รบอย่างเป็นทางการ
5.correspondant (n.m.) : ผู้สื่อข่าว, ผู้ที่เราติดต่อด้วย เช่น pen friend / correspondant permanant = ผู้สื่อข่าวที่ประจำอยู่ตามประเทศต่างๆ
6.compter + inf. (v.) : ตั้งใจที่จะ, มีโครงการที่จะ
7.prendre conscience (n.f.) : มีจิตสำนึก
8 .cour constitutionnelle (n.f.) : ศาลรัฐธรรมนูญ
9.cible (n.f.) : เป้า, ที่หมาย / cibler (v.) = พุ่งเป้าไปที่, มุ่งไปที่
10 .carnage (n.m.) : การฆ่าฟันอย่างทารุณ, การนองเลือด

D
1.diplomate (n.) : นักการทูต]
2.dirigeant (n.m.) : ผู้นำประเทศ
3.dénoncer (v.) : ประณาม, กล่าวโทษ
4.déarmement (n.m.) : การปลดอาวุธ, การวางอาวุธ
5.décret (n.m.) : คำประกาศ, คำสั่ง
6. délégation (n.f.) : คณะผู้แทน (เจรจา...)
7.déclencher (v.) : ทำให้คลาย, ลั่นไก, เริ่ม(รุกรบ)
8.déroulement (n.m.) : การดำเนินไปของ(เหตุการณ์ ...) / se dérouler = (เหตุการณ์) ดำเนินไป, คลี่คลาย

จาก web อ. เกรียงไกร

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2550

musique


Parler de musique : พูดคุยเรื่องดนตรี


• Quel genre de musique est-ce que tu aimes ?
[เธอชอบดนตรีประเภทไหน]
- J'aime la musique pop mais je préfère la musique classique.
[ฉันชอบดนตรีป๊อปแต่ฉันชอบดนตรีคลาสสิคมากกว่า]


• Vous faites de la musique ?
[เธอเล่นดนตรีบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je suis passionné par toutes sortes de musique.
[ครับ ผมหลงใหลในดนตรีทุกชนิด]


• Tu joues d'un instrument de musique ?
[เธอเล่นเครื่องดนตรีใดบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je joue du piano, de la guitare et je fais aussi du violon.
[เล่น ฉันเล่นเปียโน, กีตาร์ และฉันเล่นไวโอลินด้วย]
จาก web ของอ.เกรียงไกรค่ะเพื่อนๆ

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550

ช็อคบอล


ส่วนผสมตัวเค้กช็อกโกแลต• แป้งเค้กตราพัดโบก 1 ถ้วยตวง • ไข่ไก่ 2 ฟอง • เนยสด 1/2 ถ้วยตวง • น้ำตาลทราย 1/2 ถ้วยตวง • ผงฟู 1 ช้อนชา • นมข้นจืดระเหย 1/4 ถ้วยตวง • ผงช็อกโกแลต 1 ช้อนโต๊ะ(ละลายกับนมข้นจืดระเหย)
วิธีทำ 1. ร่อนแป้งเค้กกับผงฟูรวมกัน พักไว้ 2. ตีเนยสดให้ขึ้นฟู ค่อย ๆ ใส่น้ำตาลทรายจนหมด ใส่ไข่ไก่ทีละฟอง ใส่แป้งสลับกับนมจนหมด ตีพอเข้ากัน เทใส่พิมพ์ไล่ฟองอากาศ ปาดหน้าขนมให้เรียบ (เตรียมพิมพ์โยทาเนยและปุกระดาษไขแล้วทาเนยทับบนกระดาษอีกครั้ง) 3. นำเข้าเตาใช้เวลาประมาณ 4-5 นาที ด้วยระบบ HIGH 4. ครบเวลา นำมาคว่ำบนตะแกรง ดึงกระดาษไขออก ทิ้งไว้ให้เย็นสนิท ส่วนผสมตัวช็อกบอล• เค้กช็อกโกแลต 1 ปอนด์ • แยม 2 ช้อนโต๊ะ • เนยสด 1/4 ถ้วยตวง • วานิลา 2 ช้อนชา • เม็ดมะม่วงหิมพานต์ 1/4 ถ้วยตวง • ลูกปัดสีแต่งหน้าเค้ก 1/4 ถ้วยตวงวิธีทำ1. ยีเนื้อเค้กช็อกโกแลตให้ละเอียด 2. ตีเนยให้ขึ้นฟู เติมแยมลงไปตีให้เข้ากัน ใส่เนื้อเค้ก เติมวาลินาลงไป ตีให้เข้ากัน 3. ปั้นเป็นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1 - 1 1/2 นิ้ว แช่เย็น พักไว้ ส่วนผสมช็อกโกแลตเคลือบ• ช็อกโกแลตแท่ง 1/4 แท่ง • เนยสด 2 ช้อนโต๊ะวิธีทำ 1. หั่นช็อกโกแลตเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่เนย นำเข้าเตาใช้เวลาประมาณ 2 นาที ด้วยระบบ MED เปิดคนทุก ๆ 30 นาที 2. นำเค้กที่ปั้นแช่เย็นไว้ใช้ไม้เสียบเค้กที่ปั้นแล้วนำไปจุ่มลงในช็อกโกแลต เสียบไม้บนโฟมโรยเม็ดมะม่วงหิมพานต์หรือลูกปัดสีแต่งหน้าเค้ก ทิ้งไว้ให้เย็น นำไม้ออกวางช็อคบอลลงในถ้วยกระดาษเล็ก ๆ

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2550

รูปเค้ก






















คำศัพท์

LES VÊTEMENTS

* vêtir quelqu'un - dévêtir quelqu'un - se vêtir - se dévêtir - être vêtu (en noir...) , être bien (mal) vêtu [(ออกแบบ)สวมเสื้อผ้า(ให้ใคร) - ถอดเสื้อผ้า(ให้ใคร) - สวมเสื้อผ้า - ถอดเสื้อผ้า - สวมเสื้อผ้าชุด(สีดำ...), แต่งตัว(ดี, ไม่ดี)]* habiller quelqu'un - déshabiller quelqu'un - s'habiller - se déshabiller - être habillé (en noir...) , être bien (mal) habillé[(ออกแบบ)สวมเสื้อผ้า(ให้ใคร) - ถอดเสื้อผ้า(ให้ใคร) - สวมเสื้อผ้า - ถอดเสื้อผ้า - สวมเสื้อผ้าชุด(สีดำ...), แต่งตัว(ดี, ไม่ดี)] * fringuer quelqu'un - se fringuer (fam.) [(ออกแบบ)สวมเสื้อผ้า(ให้ใคร) - สวมเสื้อผ้า] * être bien (mal) fringué (fam.) [แต่งตัว(ดี, ไม่ดี)] * mettre un vêtement [สวมเสื้อผ้า] * porter un vêtement [สวมเสื้อผ้า]
คำศัพท์นะจ๊ะเพื่อนๆ

วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2550

วันสำคัญ

1 มกราคม 2002 : เริ่มใช้เหรียญ และธนบัตรยูโร [Mise en circulation de pièces et billets en euros.]
1 มกราคม 1999 : เงินสกุลยูโรมีผลบังคับใช้ [Entrée en vigueur de la monnaie unique européenne, l'Euro.]
1 มกราคม 1995 : สหภาพยุโรปมีสมาชิกเป็น 15 ประเทศ เมื่อรวมกับ ออสเตรีย, สวีเดน และ ฟินแลนด์ [Union européenne à quinze avec l'Autriche, la Suède et la Finlande.]
1 มกราคม 1993 : "ตลาดร่วมใหญ่" ของ 12 ประเทศสมาชิกประชาคมยุโรป มีผลบังคับใช้ [Entrée en vigueur du "grand marché unique" des douze pays de la C.E.E. Abolition des frontières et libre circulation entre les pays membre de la C.E.E.] สิ้นสุดประเทศเชคโกสโลวาเกีย เกิดเป็นประเทศสาธารณรัฐเชค และประเทศสโลวาเกีย [Fin de la Tchécoslovaquie. Naissance de la République Tchèque et de la Slovaquie.]
1 มกราคม 1986 : การเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ กับประชาคมยุโรป ของสเปนและโปรตุเกส [Entrée officielle de l'Espagne et du Portugal dans la C.E.E.]
1 มกราคม 1981 : การเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ กับประชาคมยุโรป ของกรีซ [Entrée officielle de la Grèce dans la C.E.E.]
1 มกราคม 1973 : การเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ กับประชาคมยุโรป ของเดนมาร์ก, สาธารณรัฐไอร์แลนด์, และสหราชอาณาจักร [Entrve officielle du Danemark, de la République d'Irlande et du Royaume-Uni dans la C.E.E.]
1 มกราคม 1960 : เงินฟรังค์ใหม่มีผลบังคับใช้ [Entrée en vigueur du nouveau Franc français.]
1 มกราคม 1959 : ตลาดร่วมมีผลบังคับใช้ [Entrée en vigueur du Marché Commun.]
1 มกราคม 1958 : ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปมีผลบังคับใช้ [Entrée en vigueur de la Communauté économique européenne (C.E.E.).]
1 มกราคม 1948 : กลุ่มประเทศเบเนลักซ์มีผลบังคับใช้ [Le Benelux entre en vigueur.]
1 มกราคม 1945 : ฝรั่งเศสเข้าร่วมกับสหประชาชาติ [La France entre aux Nations Unies.]
1 มกราคม 1938 : การก่อตั้งการรถไฟแห่งชาติฝรั่งเศส [Création de la S.N.C.F.]
1 มกราคม 1912 : การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ [Fondation officielle de la République de Chine. ] 1 มกราคม 1901 : การประกาศจัดตั้งสมาพันธรัฐออสเตรเลีย [Proclamation de la confédération de l'Australie.]
1 มกราคม 1849 : เริ่มขายแสตมป์ฝรั่งเศสชุดแรก มูลค่า 20 ซองตีม โดยจัดพิมพ์ 41.5 ล้านดวง [Mise en vente du premier timbre français, d'une valeur de 20 centimes et tiré à 41,5 millions d'exemplaires.]
1 มกราคม 1582 : เพื่อปรับเวลาที่ล่าช้าถึง 10 วัน ให้ทันกับดวงอาทิตย์ สันตปาปาเกรกอรี่ที่ 8 จึงออกบังคับใช้ ปฎิทินเกรกอเรียง [Pour rattraper le retard de 10 jours avec le soleil, le pape Grégoire XIII impose le Calendrier Grégorien.]
1 มกราคม 1502 : โกนาลเวส ชาวโปรตุเกส ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะสำรวจของเวสปุชชี ได้ก่อตั้งเมือง ริโอ เดอ จาเนโร [Le Portugais Gonalves, membre de l'expédition de Vespucci, fonde la ville de Rio de Janeiro.]

Les phrases exclamatives !

Les phrases exclamatives !
เราสามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ [ความพึงพอใจ (satisfaction), ความชื่นชอบ (admiration), ความประหลาดใจ (surprise), ความโกรธ (colère), ความเสียดาย (regret)] โดยการใช้ประโยคอุทาน (phrase exclamative) :
Quel(s) / Quelle(s) + nom :
Quel + nm.s !
- Quel temps ! (อากาศอะไรกันนี่ !)
Quelle + nf.s !
- Quelle bonne idée ! (ช่างเป็นความคิดที่ดี !)
Quels + nm.pl. !
- Quels beaux bijoux ! (เครื่องประดับที่งดงามอะไรเช่นนี้ !)
Quelles + nf.pl !
- Quelles belles fleurs ! (ดอกไม้สวยงามอะไรเช่นนี้ !)
Que / Ce que / Comme + phrase [ประโยค] ! :
- Qu'il fait chaud ! / Ce qu'il fait chaud ! / Comme il fait chaud ! (อากาศร้อนอะไรอย่างนี้ !)
- Que c'est cher ! / Ce que c'est cher ! / Comme c'est cher ! (แพงอะไรอย่างนี้ !)
[ ** ในภาษาสำหรับคนคุ้นเคยกัน เรามักจะใช้ " Qu'est-ce que ..." : Qu'est-ce qu'il fait chaud ! / Qu'est-ce que c'est cher ! ]
Que de + nom (ไม่มี article)
- Que de monde ! (ผู้คนมากมายจังเลย !)
- Que de bonnes choses ! (มีแต่ของดีๆทั้งนั้นเลย !)
สำนวนต่างๆที่แสดงถึง [De nombreuses expressions invariables qui marquent] :
ความประหลาดใจ [surprise] : Ça alors ! / Pas possible ! / C'est pas vrai ! / Oh ! la ! la ! ... / Mon Dieu !
- Oh ! la ! la !, Que tu es belle ! (โอ้ ลา ลา ! เธอสวยอะไรอย่างนี้ !)
ความกลัว [peur] , การเตือนให้ระวังภัย...[danger] : Attention ! / Au secours ! ...
- Attention ! Tu vas tomber ! (ระวัง ! เดี๋ยวเธอจะล้ม !)
- Il y a l'incendie dans l'immeuble ! Au secours ! (ไฟไหม้ตึก ช่วยด้วย ๆ !)
ความเสียดาย, ความเสียใจ [regret] : Quel dommage ! / Tant pis ! ...
- On n'a pas pu visiter le marché flottant. Quel dommage ! (เราไม่สามารถไปเที่ยวตลาดนํ้าได้ น่าเสียดายจัง !)
- Il n'y a plus de place pour le concert ! Tant pis ! (ไม่มีที่สำหรับคอนเสิร์ตแล้ว แย่จัง ! )
ความพึงพอใจ [surprise] : Bravo ! / Tant mieux ! / Génial ! / Super ! / Chic alors ! / Magnifique ! / Merveilleux !..
- Tu as réussi à l'examen. Bravo ! (เธอสอบได้แล้ว ไชโย !)
- On ne doit plus refaire ce travail. Tant mieux ! (เราไม่ต้องทำงานชิ้นนี้อีก ดีจังเลย !)
ความแค้นใจ [dépit], ความหงุดหงิดรำคาญใจ [agacement] : Zut !
- Zut ! Il pleut ! Je ne peux pas sortir ! (อ้ะ ! ฝนตก ! ฉันออกไปข้างนอกไม่ได้แล้ว !)
จากเว็บของอาจารย์เกรียงไกรค่ะ

วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Le football

Histoire


Origine

Bien avant l'apparition du football sous sa forme actuelle dans les public schools anglaises au milieu du XIXe siècle, on pratiquait déjà des jeux de balle au pied, dès l'antiquité. Les Grecs connaissaient diverses sortes de jeux avec une balle, qui se pratiquaient avec les pieds : aporrhaxis et phéninde à Athènes et épiscyre à Sparte. Les soldats chinois également accomplissaient des exercices avec un ballon rond consistant à jongler et effectuer des passes ; pas de buts, pas de vainqueurs, juste un exercice d'entretien physique pour les militaires. À la Renaissance, en Italie, apparaît le calcio florentin, dans lequel on peut également voir un lointain ancêtre du football contemporain, qui est d'ailleurs appelé calcio en italien.
Le football trouve ses racines les plus directes dans la
soule (ou choule) médiévale, mais il faut attendre les premiers codes de jeu écrits anglais du XIXe siècle (1848) pour voir émerger clairement le sport, qui va très vite devenir universel. La fédération anglaise de football est créée en 1863, et à partir de cette période, la popularité de ce sport ne cessera de croître.


Évolution

Le passage du dribbling game au passing game constitue une véritable révolution. À l'origine, le football est très individualiste. Les joueurs, tous attaquants, se ruent vers le but balle au pied, c’est-à-dire en enchaînant les dribbles. C'est le dribbling. Comme Michel Platini aime à le rappeler, « le ballon ira toujours plus vite que le joueur ». C'est sur ce principe simple qu'est construit le passing game. Cette innovation apparaît à la fin des années 1860 et s'impose dans les années 1880. Dès la fin dès années 1860, des matches entre Londres et Sheffield auraient introduit le passing au Nord. C'est la version du vénérable Charles Alcock, qui situe en 1883 la première vraie démonstration de passing à Londres par le Blackburn Olympic. Entre ces deux dates, la nouvelle façon de jouer trouve refuge en Écosse.

Le Tour de France


Histoire

La discipline du Tour
La discipline imposée par
Henri Desgrange entre 1903 et les années 1930 fit beaucoup pour la légende de l’épreuve, malgré les critiques des frères Pélissier reprises par Albert Londres. Les coureurs n’avaient droit à aucune forme d’assistance extérieure sur la route du Tour, et il fallait qu’ils réparent eux-mêmes leurs machines en cas d’incident technique. Lors du Tour 1913, Eugène Christophe, solide leader virtuel du classement général, brisa sa fourche dans le Tourmalet. Au nom du principe d’autonomie, Christophe est contraint de réparer lui-même sa machine et perd toutes ses chances de victoire finale. Pas moins de trois juges du Tour assistèrent à cette réparation afin de s’assurer qu’il ne recevait pas d’aide extérieure. Les successeurs de Desgrange sont moins rigides, et le règlement s’assouplit progressivement.
La rivalité entre les organisateurs et les équipes de marques posa tant de problèmes à la fin des
années 1920 que des équipes nationales furent imposées en 1930. Tous les frais sont alors pris en charge par les organisateurs, bicyclettes incluses. C’est le journal L’Auto qui achète directement ces dernières au fabricant Alcyon. Elles sont jaunes et marquées du "A" gothique de L’Auto. Afin de financer la course, une caravane publicitaire est mise en place avant le passage des coureurs. On revient aux équipes de marque en 1962 sous l’impulsion de Félix Lévitan, directeur de la course de 1962 à 1987.

Médias

Créé en 1903 par le quotidien sportif parisien L'Auto (futur L'Équipe), le Tour est un excellent laboratoire pour les médias au cours du XXe siècle. Le premier reportage radiophonique en direct, par Jean Antoine et Alex Virot a lieu en 1930. Dès lors, la radio s’impose sur le journal, qui ne peut donner les résultats que le lendemain matin. Les actualités cinématographiques ne furent jamais de véritables concurrents, car elles diffusaient toujours les étapes avec plusieurs jours de décalage. La télévision est présente sur la route du Tour dès la fin des années 1940 mais doit expérimenter toutes sortes de moyens afin d’assurer un reportage correct de la course. Le premier reportage en direct d’un sommet alpin se limita en effet à un plan fixe du passage du col. Le reportage reprit deux heures plus tard avec un plan fixe de la ligne d’arrivée. Il faut attendre les années 1960 pour assister à des reportages télévisés en direct faisant véritablement pénétrer le téléspectateur au cœur de la course, grâce à des caméras embarquées sur des motos relayées par avion ou hélicoptère. Ainsi, on peut définir trois âges médiatiques pour le Tour : le journal papier de 1903 aux années 1920, puis la radio des années 1930 au début des années 1960, enfin la télévision depuis la fin des années 1960. Les journaux papier, L’Équipe en tête, n’abdiquèrent évidemment pas face à la montée en puissance de la radio et de la télévision, mais la description pure de l’étape laissa progressivement la place à des points de vue décalés. Antoine Blondin excellait dans ce genre.

Dopage

Affiche de spectateurs sur le Tour de France 2006
Le dopage est un problème récurrent du Tour. Le « pot belge » resta longtemps en usage et les frères Pélissier en expliquèrent tous les détails dès le début des années 1920. Le décès de Tom Simpson sur la route du Tour le 13 juillet 1967 est un électrochoc pour tous, coureurs, organisation et spectateurs. Les premiers contrôles anti-dopage sont alors mis en place, mais ces derniers restent toujours en retard d’une génération. Afin d’éviter un nouveau cas Simpson, le dopage se professionnalise, tandis que la fédération internationale traîne des pieds pour renforcer la lutte anti-dopage et mettre à jour la liste des produits interdits. Le coureur cycliste Pedro Delgado est ainsi déclaré positif à la probénécide quelques jours avant son arrivée en jaune à Paris, mais les organisateurs de la Grande Boucle s’inclinent face aux pressions de la fédération internationale permettant à Delgado de terminer son Tour 1988 sans être inquiété. La probénécide figurait sur la liste des produits interdits par le CIO, mais pas sur celle de l’UCI. En 1998, le scandale de l’affaire Festina éclate. Cette affaire met surtout en lumière la participation active du staff médical des équipes pour encadrer médicalement le dopage des coureurs. Suite à cette affaire, les contrôles sont renforcés et la France se dote d’une loi anti-dopage plus contraignante. Malgré ces précautions, les soupçons de dopage planent encore sur le Tour, notamment après les performances de coureurs comme Marco Pantani et Lance Armstrong et les affaires les concernant, ou l’affaire Puerto.
En
2007, le Tour de France est à nouveau touché par plusieurs affaires de dopage : tout commence avec l'Allemand Patrik Sinkewitz, qui a fait l'objet d'un contrôle antidopage positif le 8 juin et qui a abandonné le 15 juillet dans le Tour de France après avoir percuté un spectateur. Puis, Alexandre Vinokourov, grand favori de cette édition, est exclu de l'épreuve suite à un controle positif aux transfusions homologues. Dans la foulée, et à la demande de Patrice Clerc, l'équipe Astana se retire de la Grande Boucle, emportant avec elle des coureurs de qualité, tels Klöden et Kashechkin. Le lendemain, c'est l'Italien Christian Moreni de la Cofidis qui est rattrapé par le dopage. Il a reconnu avoir eu recours à de la testostérone (à l'instar de Floyd Landis) durant l'étape Marseille - Montpellier. Pourtant, Eric Boyer, le manager de la Cofidis, n'avait pas été le moins virulent dans ses propos concernant le cas de dopage de Vinokourov. L'équipe Cofidis se retire alors du Tour.
Enfin, après avoir largement consolidé son maillot jaune lors de la 16e étape, la dernière étape de montagne du Tour, Michael Rasmussen est retiré de l'épreuve par son équipe, la Rabobank, à qui le danois a menti, notamment sur le lieu de sa préparation pour le Tour (il était en Italie alors qu'il avait déclaré être au Mexique). Par ailleurs, la fédération danoise l'avait, quelques jours avant la 16e étape, exclu de l'équipe nationale en raison de la non-communication par Rasmussen de son calendrier d'entrainement empêchant l'UCI de réaliser des contrôles anti-dopage inopinés.

วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550

tomate


La tomate est une plante annuelle de la famille des Solanacées, originaire d'Amérique du Sud (Pérou). Le terme désigne aussi ce fruit charnu, qui est l'un des légumes les plus importants dans l'alimentation humaine et qui se consomme frais ou transformé. C'est l'ingrédient de cuisine le plus consommé dans le monde après la pomme de terre. Elle est cultivée sous presque toutes les latitudes, sur une superficie d'environ 3 millions d'hectares, ce qui représente près du tiers des surfaces mondiales consacrées aux légumes.
Longtemps appelée "pomme d'amour" ou "pomme d'or", son nom de « tomate » n'a été accepté par l'
Académie française qu'en 1835. Il a été emprunté au nahuatl (langue de la famille uto-aztèque) tomatl. Le nom lycopersicum signifie littéralement « pêche de loup », et fait référence au caractère toxique attribué initialement à ce fruit.

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2550

รูปภาพสลัด






















mousse au chocolat








Mousse au chocolat :


Facile. Très rapide.
Préparation : 20 mn

Ingrédients : (pour 6 personnes)
200g de chocolat
4 cuil. à soupe de café très fort
100g de beurre fin
4 cuil. à soupe de sucre glace
4 beaux oeufs très frais.

1. Cassez le chocolat en petits morceaux dans une casserole. Ajoutez le café et faites fondre sur feu très doux.
2. Incorporez le beurre par petites noisettes, le sucre, les 4 jaunes d'oeufs. Remuez sans cesse jusqu'à fusion complète. Le mélange ne doit pas bouillir. Réservez.
3. Montez les blancs en neige ferme. Incorporez-les hors feu à la préparation chaude. Mélangez très délicatement jusqu'à obtenir une mousse homogène.
4. Versez dans une coupe, ou dans des ramequins, et réservez au froid avant de servir.
Recettes inspirées du livre Idées Cuisine : "le Chocolat"

วันพุธที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Tarte à l’orange


Ingrédients :

  • 1 rouleau de pâte sablée
  • 4 oeufs
  • 200 g de sucre
  • 150 g de beurre demi-sel, mou
  • 60 g de poudre d’amande
  • le zeste râpé de 2 oranges
  • le jus de 4 oranges

Préparation :

  1. Battez les oeufs et le sucre, puis ajoutez les zestes et les jus d’oranges
  2. Faites cuire cette préparation sur feu doux, pendant 10 min, en remuant constamment, puis filtrez au travers d’une passoire
  3. Ajoutez le beurre et les amandes en poudre
  4. Foncez un moule à tarte (de 26 à 28 cm de diamètre) avec la pâte sablée et versez la crème à l’orange dans ce fond de pâte
  5. Faites cuire votre tarte à l’orange, 30 min, à 180 ° C

Dégustez la tarte à l’orange complètement refroidie

วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550


En cuisine, un fruit, au sens large, est un aliment végétal sucré et est considéré essentiel à l'alimentation en apportant certaines vitamines et des fibres. On y distingue généralement:


les agrumes : citron, orange, pamplemousse
les baies :
fraise, groseille, raisin
les fruits à pépins :
pomme, poire
les fruits à noyaux :
abricot, cerise, pêche
les fruits à coque :
noisette, noix
En Europe ou en Amérique du Nord, on appelle également
fruits exotiques les fruits de certaines des plantes qui ont été apportées ou acclimatées à la suite des Grandes découvertes : ananas, banane, kiwi, mangue, etc.
Le concept culinaire de fruit recouvre en grande partie le concept botanique, mais de nombreux fruits botaniques sont considérés en cuisine comme des
légumes (aubergine, concombre, haricot, maïs, tomate, olive, avocat…), d'autres encore comme des épices (noix de muscade, poivre, vanille, piment…). Avec les grains des graminées (blé, riz), qui sont d'ailleurs un type de fruit particulier, le caryopse, ils forment une partie essentielle de l'alimentationcitation nécessaire.
A contrario, certains fruits au sens culinaire sont en botanique des
faux-fruits, qui résultent de l'évolution non de l'ovaire mais d'autres organes, notamment du réceptacle floral : fraise, figue, ananas, pomme, etc.

วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

หมีน้อย

Bonjour mon amies




ขออภัย


สวัสดีค่ะเพื่อน ๆทุกคนที่เข้ามาเยี่ยมชม Blog กุ๊กนะคะ ต้องขอโษด้วยที่ไม่ได้เข้ามา Up นาน เพราะว่ากว่าจะแย่งคอมได้ค่ะ มีแต่คนมาเล่นเกมส์ เลยแย่งไม่ค่อยจะทัน แล้วบางทีก็งานยุ่งต้องช่วยแม่ทำงานบ้านบ้าง ทำการบ้านบ้าง เวลาจึงไม่พอ ที่จะแย่งคอมกับพวกเด็กๆอย่าเพิ่งว่ากันนะ

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Trifle exotique tout léger


Un petit dessert vite improvisé et tout léger en plus ....... le trifle exotique ........ je voulais improviser un trifle à la mangue...... il y a une mangue qui se balade dans ma cuisine et de la mascarpone qui reste au frigo ....... de quoi faire un p'tit trifle ...... mais voila quand j'ai ouvert le pot de mascarpone j' ai vite vu que c'était mal barré...... elle avait une drôle de couleur !!!!.....heureusement un yaourt nature me faisait de l'oeil à côté ...... alors pourquoi pas ça sera beaucoup plus léger que la mascarpone ( surtout vu la tête de ma mascarpone !!! )
TRIFLE EXOTIQUE TOUT LEGER
- Pour deux petits trifles en amoureux ( ou pas amoureux d'ailleurs ) - Ecraser la moitie d'une mangue à la fourchette; couper l'autre moitié en petit dés.- Mélanger le yaourt nature avec la moitié de la mangue écrasé et du sucre selon ses goûts.- Dresser les trifles en alternant mangue écraser, 1 petit THE en miette, la moitié du yaourt à la mange, mangue en cubes, finir par de la crême chantilly et enfin le dernier petit THE en miette.- Saupoudrer de chocolat en poudre

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Parler de musique : พูดคุยเรื่องดนตรี


• Quel genre de musique est-ce que tu aimes ?
[เธอชอบดนตรีประเภทไหน]
- J'aime la musique pop mais je préfère la musique classique.
[ฉันชอบดนตรีป๊อปแต่ฉันชอบดนตรีคลาสสิคมากกว่า]


• Vous faites de la musique ?
[เธอเล่นดนตรีบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je suis passionné par toutes sortes de musique.
[ครับ ผมหลงใหลในดนตรีทุกชนิด]


• Tu joues d'un instrument de musique ?
[เธอเล่นเครื่องดนตรีใดบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je joue du piano, de la guitare et je fais aussi du violon.
[เล่น ฉันเล่นเปียโน, กีตาร์ และฉันเล่นไวโอลินด้วย]
un vêtement sur mesure = เสื้อผ้าวัดตัวตัด
un vêtement prêt-à-porter = เสื้อผ้าสำเร็จรูป
un vêtement à la mode = เสื้อผ้าทันสมัย
un vêtement démodé = เสื้อผ้าล้าสมัย
un vêtement d'homme (de femme), (d'enfant) = เสื้อผ้าชาย (หญิง), (เด็ก)
un vêtement unisexe = เสื้อผ้าชายหญิง
un sous-vêtement = ชุดชั้นใน un vêtement, un habit, un costume,
une tenue = เสื้อผ้า, ชุด
* une toilette, une toilette d'été = เสื้อผ้าสตรี
le linge (laver, repasser le linge) = (เสื้อ)ผ้า (ซัก, รีดเสื้อผ้า)
* des fringues (fam.) = เสื้อผ้า

วันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

วันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

อาหารเพื่อเส้นผม




อาหารเพื่อเส้นผมถ้าคุณกำลังวิตกกังวลกับปัญหาของเส้นผม ที่ร่วงเกิน 100 เส้นต่อวันและมีทีท่าว่าจะกลายเป็นหนุ่มผมบางหรือสาวผมน้อยก่อนวัยอันควร ก่อนที่จะหลงเชื่อคำโฆษณาที่เกินจริง ลองมาดูกันว่าทำไมผมจึงร่วงมากผิดปกติสาเหตุของผมร่วง1.ถูกแสงแดดมากเกินไป2.สูบบุหรี่จัด3.ความเครียด4.ยารักษาโรคบางชนิด5.ระบบการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงผิวหนังบริเวณศีรษะไม่ดีพอ6.ผิวหนังบริเวณศีรษะเกิดการติดเชื้อ7.เป็นรังแคเรื้อรัง8.โภชนาการเลว9 กรรมพันธุ์
ทั้งหมดนี้ที่ป้องกันไม่ได้มีเพียงข้อเดียว คือ กรรมพันธุ์ ก่อนอื่นจึงต้องหาสาเหตุให้พบว่า ผมร่วงมากผิดปกตืเกิดจากปัจจัยอะไร จึงจะแก้ได้ถูกต้อง จริงๆแล้วเส้น
ผมของคนเรามีการเจริญเติบโตอยู่ตลอดเวลา และจะเส้นผมจะอยู่ในสภาพที่ดี หากได้รับอาหารสารอาหารดังนี้ อาหารที่มีไอโอดีน เช่น สาหร่ายทะเล กุ้ง น้ำมันตับปลา อาหารที่มีซิลิคอน เช่น ข้าวโอ๊ต สตรอเบอรี่ กะหล่ำปลี ผักกาดหอม อาหารที่มีกำมะถัน เช่น กะหล่ำปลี แอปเปิล หัวผักกาด อาหารที่มีเหล็ก เช่น ตับ เนื้อสัตว์ อาหารที่มีวิตามินบี 2 เช่น โยเกิร์ต เนยแข็ง เนื่องจากเส้นผมของคนเราประกอบด้วย ซิลิคอน 20% กำมะถัน 5%เหล็กและแมงกานีสอย่างละ 10% ส่วนไอโอดีน จะเป็นตัวที่ช่วยให้เลือดไปเลี้ยงผิวหนังบริเวณศีรษะดีขี้น ถ้าขาดไอโอดีน ก็จะทำให้การไหลเวียนของเลือดช้าลง เป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเจริญงอกงามของเส้นผม และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผมร่วงสำหรับวิตามินบี 2 นั้น เป็น สารอาหารที่ช่วยบำรุงเส้นผมให้ดกดำและเป็นเงางามหลักในการรับประทานอาหารเพื่อให้มีสุขภาพผมที่แข็งแรงนั้น ต้องกินติดต่อกันอย่างสม่ำเสมอ จึงจะได้ผล
สูตรอาหารเพื่อสร้างการเจริญเติบโตให้แก่เส้นผมสูตรที่1. บริวเวอร์สยีสต์ 4 ช้อนโต๊ะ ผสมกับน้ำผลไม้ 1/2 ลิตร จะเป็นน้ำส้ม น้ำสับปะรด หรือน้ำมะเขือเทศ ก็ได้ ขอให้คั้นสดๆสูตรที่ 2 โยเกิร์ต 2 ช้อนโต๊ะ ผสมนม 1 แก้ว
หมายเหตุ : บริวเวอร์สยีสต์ คือเชื้อเบียร์ มีลักษณะเป็นเม็ดสีน้ำตาลจะมีวิตามินมากถึง 17 ชนิด รวมทั้งกรดอะมิโน และธาตุสังกะสี ซึ่งมีประโยชน์ต่อผิวพรรณ หาซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไปิ

5 เคล็ดลับดูแลผิว




5 เคล็ดลับรักษาผิวสาวการปล่อยปละละเลยให้ผิวชำรุดทรุดโทรมจนดูร่วงโรยก่อนวัย แม้เครื่องสำอางชั้นดีแค่ไหนก็ยากที่จะเรียกความสดใสกลับคืนมาได้นอกเสียจะช่วยไม่ให้คุณมีริ้วรอยมากไปกว่านี้ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวพรรณส่วนใหญ่ แนะนำว่าการดูแลผิว ต้องใส่ใจกันตั้งแต่วัยสาวๆนี่แหล่ะค่ะยิ่งเริ่มเร็วเมื่อไหร่ ก็จะยิ่งยืดความเสื่อมของเซลล์ไปได้มากขึ้น ลองมาดูเทคนิค 5 ข้อ เพื่อช่วยรักษาผิวสาวให้ดูสดใสไปนานๆค่ะ
1. ทาครีมกันแดด่ผู้รู้เขาบอกว่า 80 % ของการเสื่อมของผิวหนังเกิดจากแสงแดด รังสีอัลตราไวโอเลตในแสงแดด เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดริ้วรอย เหี่ยวย่น เนื่องจากจะทำลายเส้นใยคอลลาเจน และอีลาสติคทำให้ผิวหนังสูญเสียความยืดหยุ่นได้ แต่อยู่เมืองไทยจะเลี่ยงไม่ให้โดนแดดกันเลย ก็เห็นจะยาก จึงควรทาครีมปกป้องใบหน้าและลำคอเป็นประจำทุกวัน ครีมกันแดดที่ใช้ควรมีค่า SPF 15 ขึ้นไปส่วนการขับรถในที่แดดจ้า โดยไม่สวมแว่นกันแดด ทำให้คุณต้องหยีตากันคลอดเวลา ก็ทำให้รอยตีนกามาเยือนได้ง่าย ๆ รวมทั้งการเผลอทำหน้านิ่วคิ้วยุ่งๆอยู่บ่อยๆ ก็เป็นที่มาของริ้วรอยทั้งสิ้น
2. ท่านอนทำให้เกิดริ้วรอยผู้เชียวชาญด้านผิวพรรณ บอกว่า ในช่วง 6-8 ชั่วโมง ของการนอนในแต่ละวัน มีผลทำให้เกิดริ้วรอยบนใบหน้าได้ โดยเฉพาะคนที่ชอบนอนซุกหน้ากับหมอนจะทำให้ใบหน้าด้านที่ตะแคงเข้าหาหมอน เกิดริ้วรอยมากกกว่าอีกด้าน ยิ่งพวกที่ชอบเอามือก่ายหน้าผาก ก็ยิ่งทำให้เกิดริ้วรอยมากขึ้น ซึ่งอาจหลีกเลี่ยงได้โดยเปลี่ยนมานอนหงายแทนหรือเลือกใช้หมอนที่อ่อนนุ่ม และใช้ปลอกหมอนเนื้อผ้าลื่นๆ อย่างผ้าซาติน จะสามารถแก้ปัญหาในจุดนี้ได้
3. กินอาหารดีๆอาหารที่ดี มีประโยชน์ และครบหมวดหมู่ จะช่วยให้ผิวพรรณสดใสได้ โดยเฉพาะวิตามินเอ ซีและอี ซึ่งมีสารแอนตี้ออกซิแดนท์ ช่วยชะลอการเสื่อมของเซลล์ผิว และอย่าลืมดื่มน้ำมากๆ วันละ 6-8 แก้ว ส่วนบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกฮอล์เป็นตัวการสำคัญที่บ่อนทำลายผิวหนังให้เสื่อมก่อนวัยอันควร
4. อดนอน ริ้วรอยมาเยือนการพักผ่อนไม่เพียงพอ นอกจากทำให้สุขภาพทรุดโทรมแล้ว ใบหน้าก็ดูหมองคล้ำ อิดโรย และถ้าคุณอดนอนบ่อย ๆจะทำให้ริ้วรอยมาเยือนก่อนวัย
5. รู้จักผ่อนคลายความเครียดที่ไม่มีโอกาสผ่อนคลาย เปิดโอกาสให้สิวจู่โจมได้ง่ายๆถ้าไม่อยากให้เกิดสิว ซึ่งพลอยทำให้ใบหน้าไม่สดใส ควรหาวิธีผ่อนคลายความเครียด การทำจิตใจให้สงบโดยการทำสมาธิ การฟังเพลงสบายๆ ชื่นชมกับธรรมชาติรอบตัว ให้เวลากับสุนัขของคุณ ก็ช่วยคลายเครียดได้





















ภาวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า "โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง
จากการทำงานของคณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติ ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีองค์การวิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แน่ชัดว่า จากการที่ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส.
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้ง และมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุฝนฟ้าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่นดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะอันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงกับการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือเท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่า การที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภคโดยรวมลดลง ซึ่งทำให้จำนวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้นอีก 60-350 ล้านคน
ในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ มีโครงการพลังงานต่างๆ ที่จัดตั้งขึ้น และการดำเนินงานของโครงการเหล่านี้ ได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์วิทยาอย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงของฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล และปริมาณน้ำฝนที่ตกในแต่ละช่วงได้เปลี่ยนแปลงไป การบุกรุกและทำลายป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ การสูงขึ้นของระดับน้ำทะเลและอุณหภูมิของน้ำทะเล ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศน์วิทยาตามแนวชายฝั่ง และจากการที่อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้นนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนสีของน้ำทะเล ดังนั้น แนวปะการังต่างๆ จึงได้รับผลกระทบและถูกทำลายเช่นกัน
ประเทศไทยเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีชายฝั่งทะเล ที่มีความยาวประมาณ 2,490 กิโลเมตร และเป็นแหล่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และความไม่แน่นอนของฤดูการที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม มีการคาดการณ์ว่า หากระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีกอย่างน้อย 1 เมตรภายในทศวรรษหน้า หาดทรายและพื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทยจะลดน้อยลง สถานที่ตากอากาศชายทะเล รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น พัทยา และ ระยองจะได้รับผลกระทบโดยตรง แม้แต่กรุงเทพมหานคร ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นนี้เช่นกัน
ปัญหาด้านสุขภาพ ก็เป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง จากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้น ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของยุ่งมากขึ้น ซึ่งนำมาสู่การแพร่ระบาดของไข้มาเลเรียและไข้ส่า นอกจากนี้โรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น อหิวาห์ตกโรค ซึ่งจัดว่าเป็นโรคที่แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วโรคหนึ่งในภูมิภาคนี้ คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จากอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้น คนยากจนเป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงนี้ ประกอบกับการให้ความรู้ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพที่ดี ยังมีไม่เพียงพอ
ปัจจุบันนี้สัญญาณเบื้องต้นของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ได้ปรากฏขึ้นอย่างแจ้งชัด ดังนั้น สมควรหรือไม่ที่จะรอจนกว่าจะค้นพบข้อมูลมากขึ้น หรือ มีความรู้ในการแก้ไขมากขึ้น ซึ่ง ณ เวลานั้นก็อาจสายเกินไปแล้วที่จะแก้ไขได้

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550

news


SALT LAKE CITY, Utah (AP) -- Authorities said a prison inmate out for a medical appointment wrested a gun from a corrections officer and killed him Monday, then led police on a high-speed chase in a stolen sport utility vehicle before his capture at a fast-food restaurant.
Curtis Allgier, whose wears a swastika and the words "skin head" on his heavily tattooed face, fired a shot in the Arby's that hit no one before a customer at the restaurant grabbed the gun, Salt Lake City police Sgt. Rich Brede said.
"It sounds like he was heroic, even though he's being humble about it," he said of the 59-year-old customer.
Allgier, 27, was captured in an office and taken to jail to await charges.
Allgier got the gun from corrections officer Stephen Anderson while he was in an examination room at the University of Utah orthopedic center awaiting an MRI for back pain around 7:45 a.m., university Police Chief Scott Folsom said.
The procedure requires an officer to replace metal restraints with a plastic "flex cuff," said Tom Patterson, director of the Utah Department of Corrections.
"There was some sort of altercation. The inmate got hold of the weapon and shot the officer," Folsom said.
Anderson, 60, a 22-year-veteran, was shot in the head, authorities said.
"This is one of the risks in the job we perform for the community," Patterson said. "Unfortunately the risk sometimes is our very lives."
Allgier forced two people out of a Ford Explorer outside the medical center, Brede said; neither was hurt.
Officers chased the SUV at speeds up to 100 mph. Two Salt Lake City squad cars crashed into each other while trying to cut off Allgier, Brede said, but there were no serious injuries.
Allgier's friend, Trisha Tower, said he called her while on the run to say he had shot an officer and was sorry.
"I didn't even know how to deal with that," she said at her Salt Lake City home.
Police pursuing Allgier placed tire spikes on Interstate 215, but he still was able to drive several miles before bailing out in the Arby's drive-thru lane, police said.
Police arrived at the eatery just as Shirley Smiley, 57, was outside after breakfast with her husband and son. She said she heard a "popping noise" from inside, and police yelled "Get down!"
About six other customers and three employees were inside the restaurant, Smiley said. At least one person was "struck with some object" but was able to walk out, bloodied around the head, Brede said.
Police did not identify the customer who wrested the gun from Allgier, saying he did not want to be identified.
KUTV said the customer was Eric Fullerton.
"Everybody's calling me a hero. I'm not a hero," he told the TV station. "I just did what I had to do."
Allgier had been at the Utah State Prison in the Salt Lake City suburb of Draper on a parole violation. On June 14, he was sentenced to nearly nine years in federal prison for being a felon in possession of a firearm but had not been transferred yet to the U.S. Bureau of Prisons.
The university serves as a regional medical center for Utah and has two hospitals and other facilities, including the orthopedic center. The corrections department routinely transports prisoners there for medical appointments.
It was not clear whether Allgier had a lawyer yet, and an attorney who represented in a recent federal criminal case did not immediately return a call seeking comment.
Copyright 2007 The
Associated Press. All rights reserved.This material may not be published, broadcast, rewritten, or redistributed.

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550

โรคคาวาซากิ

ในปี พ . ศ . 2510 นายแพทย์ โทมิซากุ คาวาซากิ ได้รายงานผู้ป่วยซึ่งเป็นที่รู้จักกันต่อมาในนามของ “ โรคคาวาซากิ ” หรือ Kawasaki disease หรือ mucocutaneous lymph node syndrome (MCLS, MLNS หรือ MCLNS) จากประเทศญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก หลังจากนั้นได้มีรายงานของโรคนี้เพิ่มขึ้นอย่างมากมายในประเทศญี่ปุ่น ตลอดจนในประเทศอื่นๆ ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ในระยะแรกเข้าใจกันว่าโรคคาวาซากิเป็นโรคที่ถึงแม้จะมีอาการรุนแรง แต่ผู้ป่วยก็หายจากโรคได้เองโดยไม่ต้องรักษา แต่ในระยะ 3 ปีหลังจากที่รู้จักโรคนี้กันแพร่หลายในประเทศญี่ปุ่น พบว่าโรคนี้ทำให้เกิดการตายอย่างปัจจุบันทันด่วน และที่สำคัญกว่านั้นคือ ผู้ป่วยจะตายไปโดยไม่มีผู้ใดคาดคิดในระยะที่กำลังจะหายจากโรค คือในระยะฟักฟื้นหรือระยะรองเฉียบพลัน การพบครั้งนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในความเข้าใจเดิมของแพทย์เกี่ยวกับลักษณะทางคลินิก และการดำเนินของโรคอันนำไปสู่การเฝ้าระวังและการรักษาที่ต่างไปจากระยะแรกๆ
สาเหตุของโรค
แม้จะได้มีการศึกษาอย่างมากมายก็ตาม ในปัจจุบันก็ยังไม่ทราบถึงสาเหตุของโรคนี้
ลักษณะทางคลินิก
โรคคาวาซากิมักเป็นในเด็กเล็ก โดย 80% ของผู้ป่วยจะมีอายุต่ำกว่า 5 ปี median age ของ
ผู้ป่วยเท่ากับ 2 ปี พบในเพศชาย : เพศหญิง เท่ากับ 1.5 : 1 มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญคือ มีไข้สูงโดยมีระยะเวลาของการเป็นไข้นานตั้งแต่ 5 วัน ขึ้นไป ร่วมกับอาการอื่นๆ อีก 4 ใน 5 ข้อ ดังต่อไปนี้
• ตาแดง (ocular conjunctival injection) ทั้งสองข้าง
• การเปลี่ยนแปลงของริมฝีปากและในช่องปาก ซึ่งอาจพบได้ดังนี้คือ ริมฝีปากแห้ง แดงแตก ลิ้นอาจมีลักษณะหนาขึ้นและออกเป็นสีชมพูคล้ายผลสตรอเบอรี่ ( strawberry tongue ) และเยื่อบุในช่องปากแดง
• การเปลี่ยนแปลงของมือและเท้า ซึ่งในระยะแรกจะพบฝ่ามือ ฝ่าเท้าแดงและ / หรือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้าบวม ในระยะหลังประมาณวันที่สิบของโรคอาจพบการลอกของผิวหนังซึ่งจะเริ่มต้นที่บริเวณปลายนิ้วมือและนิ้วเท้า ในระยะเดือนที่สองของโรคอาจพบการเปลี่ยนแปลงบริเวณเล็บที่เรียกว่า transverse furrow
• ผื่นบริเวณลำตัวซึ่งได้มีหลายแบบ (polymorphous exanthema) แต่ส่วนใหญ่จะเป็น morbilliform maculopapular rash
• ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโต อาจจะมีอาการแดงของผิวหนังบริเวณที่ต่อมน้ำเหลืองโตร่วมด้วย

การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยโรคคาวาซากิ ขึ้นกับลักษณะทางคลินิกต่างๆ ของโรคดังกล่าวมาแล้ว ซึ่งอาจจะให้การวินิจฉัยได้ยากในระยะแรกของโรคที่ยังไม่มีอาการชัดเจน นอกจากนั้นจะต้องวิเคราะห์แยกโรคที่มีส่วนคล้ายคลึงกันออกไปเช่น scarlet fever, staphylococcal scalded skin syndrome, toxic shock syndrome, measles, leptospirosis, Stevens-Johnson syndrome, juvenile rheumatoid arthritis เป็นต้น
โรคแทรกซ้อน
โรคแทรกซ้อนที่สำคัญและอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตคือ โรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ได้แก่ anuerysm ของ coronary arteries และ large arteries อื่น , aneurysmal rupture, hemopericadium, coronary thrombosis, myocarditis, pericardial effusion, cardiac tamponade, arrhythmia และ mitral valve disease การตายในระยะต้นเกิดจาก myocarditis และความผิดปกติของ conducting system เป็นส่วนใหญ่ ส่วนการตายในระยะหลังคือ สัปดาห์ที่ 2 – 4 เกิดจาก myocardial ischemia, acute myocardial infarction จาก aneurysmrupture หรือ thrombosis
ในผู้ป่วยที่ไม่พบโรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดหัวใจจะมี Complete recovery ในเด็กส่วนใหญ่ที่มีโรคแทรกซ้อนทางหัวใจมักจะสบายดีไม่มีอาการ จากการรวบรวมในญี่ปุ่นพบว่า 1-2 % ของผู้ป่วยโรคคาวาซากิ เสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อนทางหัวใจซึ่งมักเกิดใน 1-2 เดือน แต่การพยากรณ์โรคในระยะยาวยังไม่ทราบ
การรักษา
การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคคาวาซากิ ควรจะเป็นการดูแลร่วมกันระหว่างกุมารแพทย์ และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโรคหัวใจเด็ก พบว่า Intravenous gammaglobulin (IVIG) ในขนาดสูงสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนทาง coronary artery ของผู้ป่วย Kawasaki disease โดยให้ในขนาด 2 กรัม / กก . ครั้งเดียว ในกรณีที่ไข้ไม่ลงใน 48 ชั่วโมง สามารถใช้ซ้ำได้อีกครั้ง และให้ aspirin 80-100 มก./กก. ในระยะเฉียบพลันของโรค และลดเป็น 5 มก./กก./วัน อีก 6-8 สัปดาห์

Whale Shark


Rhincodon typus

The whale shark is the largest known fish. It reaches 15 m in length, and may reach 18 m or more. Its weight can exceed 10 tons. This creature ranges all tropical waters, and infrequently strays into temperate ones. It is mainly solitary in nature, and, despite its impressive appearance, it is harmless to humans. Scuba divers and underwater swimmers have clambered unmolested over its body. The whale shark feeds chiefly on plankton, but also consumes sardines and anchovies.

Shortnose Sturgeon


Acipenser brevirostrum Endangered

The only Canadian occurrence of this small sturgeon, up to 143 cm in length, is in the St. John River, New Brunswick. In the United States, where it is classified as endangered, its range is the tidal rivers and coastal waters from Maine to Florida. However, it has disappeared from much of this range, primarily due to pollution and dams, which prevent the fish from reaching their spawning grounds. Although a rare species in Canada, some are caught accidentally in commercial fishing operations, and, according to size limitations, may be marketed. Recommendations for protection include pollution controls, larger gill net mesh size, and the use of traps instead of gill nets.

Sharks


Pacific Mako Shark

One of the most active sharks, it leaps repeatedly when hooked and is, consequently, a popular quarry for shark fishermen. The Mako is involved in attacks on boats more frequently than any other species.
Thresher Shark: Distinguished by the long (up to 3.3 m) upper lobe of the caudal fin which is used to strike whip-like blows at its prey.
Hammerhead: The eyes are located at the outer tips of the head It grows to 4.5 m or more.
Mako: Perhaps the most beautiful of the sharks. The back is a deep blue, the underside a glittering white. It grows to 455 kg and up to 3.6 m long.
Greenland Shark: A very lethargic creature and one of the few sharks to inhabit polar waters year-round.
Great White Shark: The most dangerous of all the sharks. The largest taken measured 6.3 m and weighed 3,315 kg. It is very aggressive.

Northern Pike


Esox lucius

One of our most voracious predators, pike often consume prey half their own length including minnows, frogs, crayfish, mice, muskrats, ducklings, and even their own kind. Arctic pike may live for up to 25 years. Primarily a freshwater fish, it occurs in most of Canada with the exception of the Maritime Provinces. The angler record for North America is 21 kg in weight and 133.3 cm in length. Unlike the muskellunge, hooked pike fight in the depths rather than leaping from the water. As a sport fish, it is usually taken by trolling with large spoons, plugs, large bait fish, or worm harness.

Lamprey


Petromyzon marinus

The destructive effect on the Great Lakes fishing industry caused by the invasion of the sea lamprey is well known. The opening of the Welland Canal in 1829 first gave the species access to the Upper Great Lakes, and it now occurs through the entire system. The maximum size of the landlocked variety appears to be about 762 mm although most individuals are somewhat smaller. The adults live as external parasites of a variety of fish in fresh water. Attaching themselves to the body of the host by means of the sucking disc which is ringed with sharp teeth, a hole is rasped through the victim's skin, and blood and body fluids are thus consumed. Attachment has ranged from 38 to 220 hours in tests. Long considered a delicacy by European diners, the lamprey has, so far, failed to whet North American appetites.

Greenland Shark


Somniosus microcephalus

The Greenland, or sleeper shark, is one of the few sharks found in polar waters year-round. Noted for its lethargic nature, this species often grows to 4.2 m with the largest recorded being 6.3 m long and weighing 1,020 kg. Inuit often catch this fish by luring it to a hole chopped in the ice and either harpooning it or simply dragging it out of the water by hand. Its flesh, however, unless properly prepared is highly toxic and causes symptoms similar to those caused by too much alcohol. Despite its well-known apathy, it is known to consume much livelier animals, such as squid, herring, salmon, and seals, although how it manages to do this in view of its sluggish and inoffensive nature remains unconfirmed.

Coelacanth


Latimeria chalumnae Vulnerable

"Old fourlegs," the coelacanth (see-la-kanth), close to the stock that gave rise to the land vertebrates, is well known from the fossil record of 75 million to 400 million years ago. They were thought to be extinct until 1938 when one was caught off the coast of South Africa. A long search for their home ended in 1952 when they were found in the Comoros archipelago. In 1975, it was discovered that the coelacanth is a "live bearer" when a 1.5 m mother was found to contain five young that were each a perfect 30 cm miniature of the adult. Of the specimens caught to date, the maximum weight has been 95 kg and a maximum length about 1.8 m.